การแต่งกาพย์ยานี 11 ตามทัศนะของนายผี
Main Article Content
บทคัดย่อ
นายผีนำกาพย์ยานี 11 มาแต่งร้องกรองแนวเพื่อชีวิตโดยใช้หลักการแต่ง “กลอนที่ดีพร้อม” โดยมีแนวคิดว่าต้องจัดสมดุลระหว่างรูปแบบทางศิลปะและเนื้อหา เน้นการให้ความสำคัญแก่ความคิดหรือเนื้อหาเป็นหลัก และสร้างสรรค์รูปแบบทางศิลปะให้เหมาะสมกับเนื้อหา ทำให้กาพย์ยานี 11 มีพลังในการปลุกเร้าความคิดและสร้างสำนึกต่อสังคมได้ตามจุดมุ่งหมายของนายผี นอกจากนี้ยังมีอิทธิพลต่อกวีรุ่นหลังในการแต่งกาพย์ยานีแนวเพื่อชีวิต
Article Details
References
กําาชัย ทองหล่อ. (2525). หลักภาษาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: บํารุงสาส์น.
คมทวน คันธนู. (2530). ว่าด้านสัพเพเหระแห่งฉันทลักษณ์: มือกาพย์. วิเคราะห์วรรณกรรม วิจารณ์วรรณกร (น.51-64). กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.
ชลธิรา กลัดอยู่. (2517). วรรณคดีของปวงชน. กรุงเทพฯ: อักษรสาส์น.
นายผี (อัศนี พลจันทร). (2557ก). กาพย์กลอนวิพากษ์วิจารณ์สังคมและการเมืองสยามเล่ม 1. กรุงเทพฯ: อ่าน.
นายผี (อัศนี พลจันทร). (2557ข). กาพย์กลอนวิพากษ์วิจารณ์สังคมและการเมืองสยาม เล่ม 2. กรุงเทพฯ: อ่าน.
นายผี (อัศนี พลจันทร). (2557ค). กาพย์กลอนวิพากษ์วิจารณ์สังคมและการเมืองสยาม เล่ม 3. กรุงเทพฯ: อ่าน.
นายผี (อัศนี พลจันทร). (2557ง). เราชะนะแล้ว, แม่จ๋า. และกาพย์กลอน “ความเปลี่ยนแปลง” เล่ม 4. กรุงเทพฯ: อ่าน.
ประไพ วิเศษธานี (อัศนี พลจันทร). (2536). เคล็ดกลอน เคล็ดแห่งอหังการ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ทะเลหญ้า.
ศิลปากร, กรม. (2545). วรรณกรรมสมัยอยุธยา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ศรีอินทรายุธ (อัศนี พลจันทร). (2534). ศิลปาการแห่งกาพย์กลอน (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ทะเลหญ้า.
สุจิรา คุปตารักษ์. (2526). วิเคราะห์บทร้อยกรองของนายผี. (ปริญญานิพนธ์หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
สุมาลี วีระวงศ์ และคณะ. (2544). กวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย: บทวิจารณ์และสรรนิพนธ์. กรุงเทพฯ: ศยาม.
อวยพร มิลินทางกูร. (2519). ลักษณะคําาประพันธ์ร้อยกรองของไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2475-2501. (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, บัณฑิตวิทยาลัย, แผนกวิชาภาษาไทย.