ความเชื่อที่สะท้อนจากชื่อเรือยาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Main Article Content

พรเพ็ญ เหล็กดีเศษ
อรพัช บวรรักษา

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเชื่อที่สะท้อนจากชื่อเรือยาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ผู้วิจัยเก็บข้อมูลชื่อเรือยาวจำนวน ๓๐๕ ชื่อ ในพื้นที่ ๑๐ จังหวัด ของลุ่มน้ำมูล - ชี ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครราชสีมา บุรีรัมย์ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ  สุรินทร์ และอุบลราชธานี ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘  ผลการศึกษาพบว่า ชื่อเรือยาวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือสะท้อนให้เห็นความเชื่อ ๓ ประการคือ ความเชื่อเกี่ยวกับผีสางเทวดา ความเชื่อเกี่ยวกับศาสนา และความเชื่อเกี่ยวกับสิริมงคล

Article Details

How to Cite
เหล็กดีเศษ พ., & บวรรักษา อ. (2016). ความเชื่อที่สะท้อนจากชื่อเรือยาวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วรรณวิทัศน์, 16, 135–160. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2016.6
บท
บทความประจำฉบับ

References

กฤติกา ชูผล. (2554). ชื่อเรือประมงในจังหวัดสมุทรสงคราม: การศึกษาตามแนวอรรถศาสตร์ชาติพันธุ์. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, คณะอักษรศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.

ขนิษฐา จิตชินะกุล. (2545). คติชนวิทยา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

คณะกรรมการจัดการแข่งขันเรือยาวประเพณีจังหวัดกาฬสินธุ์. (2557). สูจิบัตรแข่งขันเรือยาวประเพณี จังหวัดกาฬสินธุ์ ประจําปี 2557. กาฬสินธุ์: กาฬสินธุ์การพิมพ์.

โครงการห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ. (2558). พระราชพิธีสิบสองเดือน [ข้อความโพสต์ในบล็อก]. สืบค้นจาก http://vajirayana.org/พระราชพิธีสิบสองเดือน/พระราชพิธีเดือน 11

ชาญวิทย์ สรรพศิริ. (2537). เรือยาวไทย. (รายงานการศึกษาวัฒนธรรมพื้นถิ่นในประเทศไทย). มหาวิทยาลัยศิลปากร, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, สาขาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม.

ทนงศักดิ์ ต้นวงศ์. (2535). ประวัติและพัฒนาการของการแข่งขันเรือยาวไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, คณะพลศึกษา, สาขาเอกพลศึกษา.

ธีระพงษ์ ทศวัฒน์ และ สมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2555). ระบบความเชื่อเรื่องปรางค์กู่: กรณีศึกษา บ้านปรางค์กู่ ตําบลมะอึ อําเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด. รวมบทคัดย่อการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 13 วันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

นราธิปประพันธ์พงศ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ, กรมพระ. (2505). จดหมายเหตุลาลูแบร์ เล่ม 1. กรุงเทพฯ: ศึกษาภัณฑ์พาณิชย์.

บัญชา เกียรติจรุงพันธุ์. (1 มกราคม – มิถุนายน 2554). “จ้ําา” ผู้สื่อสารกับปู่ตา: รอยต่อแห่งความทรงจําร่วมของชุมชน. วารสารศิลปกรรมศาสตร์. 3: 1, 20 -39.

บุญยงค์ เกศเทศ. (2550). ผีป่าดงภู เจ้าปู่ขุนน้ําา. กรุงเทพฯ: คมชัดลึก.

เปี่ยมสุข ตันวิบูลย์. (2543). การศึกษาชื่อเรือพระราชพิธี. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, คณะโบราณคดี, สาขาวิชาจารึกภาษาไทย.

เพ็ญศรี ดุ๊ก และคนอื่นๆ. (2528). วัฒนธรรมพื้นบ้าน: คติความเชื่อ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัชรวร วงศ์กัณหา. (2555). ศาสนาชาวบ้าน: ภูมิปัญญาด้านการผสมผสานความเชื่อในฮีตสิบสองต่อการสร้างความมั่นคงทางสังคมวัฒนธรรมจังหวัดมหาสารคาม. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, คณะศิลปศาสตร์, สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์.

วิชุตา ทองคํากัลยา. (2552). ลักษณะภาษาที่ใช้ในการตั้งชื่อเรือหลวงไทย. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, คณะมนุษยศาสตร์, สาขาวิชาภาษาไทย.

วินัย รอดฉ่าย. (2532). เรือยาว มรดกทางวัฒนธรรมบนสายน้ําา. กรุงเทพฯ: แสงศิลป์การพิมพ์.

วิเลิศ ภูริวัชร. (5 ธันวาคม 2553). เลขนั้นสําาคัญไฉน (Number in Marketing). กรุงเทพธุรกิจ, น. 6.

สภาราชบัณฑิต. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่น.

สภาวัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ. (2538). ที่ระลึกพิธีเปิดที่ว่าการอําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ 2 พฤศจิกายน 2538. ศรีสะเกษ: โรงพิมพ์ศรีสะเกษการพิมพ์.

สํานักงานส่งเสริมพระกรรมฐาน จังหวัดสระบุรี. (2556). ภุมมะเทวดา รุกขเทวดา เป็นเทวดาอยู่ในเมืองมนุษย์ใช่หรือไม่ [ข้อความโพสต์ในบล็อก]. สืบค้นจาก http://www.madchima.org/forum/index.php?topic=11264.0

สุจิตต์ วงษ์เทศ. (บรรณาธิการ). (2522). เจ้าพระยา สายชีวิตไทย ตําานานเรือ วิถีเมืองน้ําา. กรุงเทพฯ: มติชน จํากัด (มหาชน).

สุเทพ สุนทรเภสัช. (2548). หมู่บ้านอีสาน ยุค “สงครามเย็น”: สังคมวิทยาของหมู่บ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรุงเทพฯ: มติชน จํากัด (มหาชน).

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2549). กว่าจะเป็นนักภาษาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญมา วงษ์วิลา. กํานันตําบลหนองบัวดง. (11 ธันวาคม 2557). สัมภาษณ์.

พงษ์ศักดิ์ พรมทา. ผู้ใหญ่บ้านนาเลิง. (31 ธันวาคม 2557). สัมภาษณ์.

พระไฉน ปัญญาสิริ. พระลูกวัดใหม่พัฒนา. (14 ธันวาคม 2557). สัมภาษณ์.

พระอธิการประพิตร อนามโย. เจ้าอาวาสวัดธวัชบุรี. (31 ธันวาคม 2557). สัมภาษณ์.

สมรักษ์ อุตสาหะ. ผู้อาวุโสประจําาหมู่บ้านเหนือ. (24 มกราคม 2558). สัมภาษณ์.

สุทิน นาชัยฤทธิ์. สารวัตรกําานันตําาบลท่าตูม. (18 มกราคม 2558). สัมภาษณ์.

อุบลศักดิ์ สารเสมา. ที่ปรึกษานายกองค์การบริหารส่วนตําาบลโพธิ์ตาก. (10 ธันวาคม 2557). สัมภาษณ์.