คุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กร
คำสำคัญ:
คุณภาพชีวิตในการทำงาน, ความผูกพันในองค์กรบทคัดย่อ
คุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพขององค์กรอย่างมากถึงแม้ว่าในปัจจุบันองค์กรต่างๆ จะนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อทดแทนกำลังคนเป็นจำนวนมาก แต่อย่างไรก็ตามพนักงานก็ยังมีความสำคัญต่อการทำงานเนื่องจากความพึงพอใจของมนุษย์จะไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ตามสภาพการณ์ของการทำงานและปัจจัยอื่นๆ ภายในองค์กร การเปลี่ยนแปลงความพึงพอใจในการทำงานจะมีผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงาน ดังนั้นในการบริหารทรัพยากรมนุษย์ผู้บริหารจึงต้องให้ความสำคัญในการสร้างความพึงพอใจให้กับพนักงานในด้านคุณภาพชีวิตในการทำงานอยู่เสมอ เมื่อพนักงานเกิดความพึงพอใจก็จะปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดสวัสดิการที่ดีหรือประโยชน์เกื้อกูลต่างๆ แก่พนักงาน เช่น การจัดการให้มีที่พักอาศัย สหกรณ์ออมทรัพย์ ช่วยเหลือค่าเล่าเรียนบุตร มีวันหยุดพิเศษ จัดอบรมเพื่อเพิ่มความรู้และเพิ่มทักษะในการทำงาน จะช่วยให้พนักงานมีความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยเป็นสิ่งเสริมสร้างความพึงพอใจและเพิ่มคุณภาพชีวิตในการทำงาน ซึ่งจะนำไปสู่ความผูกพันระหว่างองค์กรกับพนักงาน
References
กนกทิพย์ จันทร์พลังศรี. (2558). คุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงาน บริษัทไทยโพลีคอนส์ จำกัด (มหาชน). (การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).
กฤษวรรณ นวกุล และนิภาภรณ์ วีระสกุลทอง. (2547). ความผูกพันของพนักงาน: กรณีศึกษา บริษัทมิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์).
ปรานอม กิตติดุษฎีธรรม. (2538). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันของลูกจ้างต่อองค์การ: ศึกษาเฉพาะกรณีอุตสาหกรรมสิ่งทอ ประเภทการทอผ้าด้วยเส้นใยฝ้ายและเส้นใยประดิษฐ์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
สมชื่น นาคพลั้ง และวิรดี โกมุทีวงษ์. (2547). ความมุ่งมั่น ผูกพันต่อองค์การ: ศึกษากรณีบริษัทฮิวเวลต์ – แพคการ์ด (ประเทศไทย) จำกัด. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์).
สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ. (2541). พฤติกรรมองค์การ : ทฤษฎีและการประยุกต์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุกานดา ศุภคติสันติ์. (2540). ลักษณะสวนบุคคลและสภาพแวดลอมองคการที่มีผลตอความผูกพันตอองคการของพนักงาน:กรณีศึกษาบริษัทเงินทุนในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธปริญญมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร).
Allen, N. J. and J. P. Meyer. (1990). The Measurement and Antecedents of affective, Continaunce and Normative Commitment to the Organization. Jounal of Occupational Psychology, 63: 1-18.
Buchanan, B. (1974). Building Organization Commitment: The socialization of Managers in Work Organizations. Administrative Science Quarterly, 19(4),535-546.
Bluestone, Irving. (1977). Implementating Quality-of-worklife Programs. Management Review, 6(9), 43-46.
Hrebiniak, L. G. & Alutto, J. K. (1972). Personal and role-related factors in the development of organizational commitment. Administrative Science Quarterly, 17(12), 555-573.
Huse, E. F., & Cummings, T. G. (1985). Organization Development and Change (3rd ed.). St. Paul, MN: West.
Porter, L., R. M. Steers ฿ P. V. Bowlian. (1974). Organizational Commitment, Job Satisfaction, and Turnover among Psychiatric Technicians. Journal of Applied Psychology 59.
Reynolds, L.A. (2005). Communicating total rewards to the generations, Benefits Quarterly, Second Quarter, 13-17.
Steers, R. M. (1977). Antecedents and Outcomes of Organizational Commitment. Administrative Science Quarterly 22 ,Summer
Steers, R.M. & L.W.Porter. (1979). Motivation and Work Behavior. New-York: MC Graw-Hill.
Walton, R.E. (1973). Quality of Working Lift : What Is It?. Stone Management Review, 14(2), 11-12.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้เขียน
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จะถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ