ภาวะผู้นำการบริหารในภาวะวิกฤติสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
คำสำคัญ:
ผู้นำ, การบริหารวิกฤติ, การพัฒนา, ผู้นำภาวะวิกฤติ, ยั่งยืนบทคัดย่อ
บทความวิชาการเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นำการบริหารในภาวะวิกฤติสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (2) ทราบถึงคุณลักษณะหลัก คุณลักษณะเสริม และจริยธรรมของผู้นำหรือผู้บริหารในสังคมไทย และ (3) ทราบถึงแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำการบริหารในภาวะวิกฤติสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนด้วยการวิเคราะห์ด้วยเอกสาร โดยผลการวิเคราะห์ระบุว่า แนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำการบริหารในภาวะวิกฤติสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนนั้น (1) ผู้นำต้องปรับเปลี่ยนการทำงานเพื่อเสริมสร้างแรงบันดาลใจ และมีความมุ่งมั่น (2) ผู้นำต้องปรับเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์และความสามารถในการรังสรรค์นวัตกรรมใหม่ และ (3) ผู้นำต้องปรับเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อปลูกฝังจิตสาธารณะ ปรับเปลี่ยนจากการเน้นผลประโยชน์ร่วมเป็นการเน้นสร้างคุณค่าร่วม สำหรับคุณลักษณะหลักของผู้บริหาร ประกอบด้วย ความเป็นผู้นำ มีพฤติกรรมผู้บริหาร ผู้นำตามสถานการณ์ ประพฤติตัวเป็นแบบอย่าง สร้างแรงบันดาลใจ กระตุ้นปัญญา และนึกถึงปัจเจกบุคคล สำหรับคุณลักษณะเสริมของผู้บริหาร ประกอบด้วย เป็นนักสร้างสรรค์ เป็นนักสื่อสาร สร้างชุมชน สร้างความร่วมมือ มีพลัง เชิงบวก มีความเชื่อมั่น มุ่งมั่น เต็มใจเรียนรู้ คิดริเริ่ม มีความเจียมตัว และเป็นตัวแบบที่ดี สำหรับจริยธรรมของผู้นำต้องมีมาตรฐานของการกระทำและพฤติกรรมอันเป็นเครื่องบ่งบอกให้เห็นถึงการเป็นผู้ทรงเกียรติ ที่สามารถแยกแยะได้ว่าอะไรคือสิ่งที่ถูก หรืออะไรที่ผิด โดยใช้ดุลยพินิจพิจารณาในเชิงศีลธรรม
References
ชัยเสฎฐ์ พรหมศรี. (2549). การเป็นผู้นำที่มีจริยธรรม. วารสารนักบริหาร, 26(3), 20-25.
Bass, B.M., & Avolio, B.J. (1993). Transformational leadership: A response to critiques. In M.M.
Bass, B. M., & Avolio, B. J. (Eds.). (1994). Improving organizational effectiveness through transformational leadership. Sage.
Bass, B. M., & Riggio, R. E. (2006). Transformational leadership. Mahwah, NJ: Erlbaum.
Brown, S. L., & Eisenhardt, K. M. (1997). The art of continuous change: Linking complexity theory and time-paced evolution in relentlessly shifting organizations. Administrative science quarterly, 1-34.
Burns, J.M. (1978). Leadership. New York: Harper & Row.
Chew, M.M.,Cheng,J., & Petrovic-Lazarevic, S. (2006). Managers’role in implementing organization change: case of the restaurant industry in Melbourne. Journal of Global Business and Technology, 2(1), 58.
Deming, W. E. (1986). Out of the crisis Cambridge. Cambridge, Mass.: Massachusetts Institute of Technology, Center for Advanced Engineering Study.
Drucker, P. F. (1997). The global economy and the nation-state. Foreign Affairs, 159-171.
Fayol, H. (1937). The administrative theory in the state. Papers on the Science of Administration, 99-114.
Griffin, A. (1997). PDMA research on new product development practices: Updating trends and benchmarking best practices. Journal of Product Innovation Management: AN INTERNATIONAL PUBLICATION OF THE PRODUCT DEVELOPMENT & MANAGEMENT ASSOCIATION, 14(6), 429-458.
Gulick, L., & Urwick, L. (1969). Papers on the science of administration. New York: Augustus M. Kelley. 1937.
Griffin, R. (1999). Management. (5th Edition). Houghton Mifflin Company.
Jantzi, D., & Leithwood, K. (1996). Toward an explanation of variation in teachers' perceptions of transformational school leadership. Educational Administration Quarterly, 32(4), 512-538.
Hicks, H., & Gullett, C. (1987). Management (4th Edition), International Student Edition, McGraw-Hill, Inc.
Kouzes, J. & Posner. B. (1997). The leadership challenges. San Francisco: Jossey-Bass.
Miller, D., & Dröge, C. (1986). Psychological and traditional determinants of structure. Administrative science quarterly, 539-560.
Riaz,A. and Haider, M.H.(2010). Role of transformational and transactional leadership on job satisfaction and career satisfaction. Business and Economic Horizons, 1, 29-38.
Robbins, S. and Mary Coulter, M. (2000). Management (7th Edition), Prentice-Hall International, Inc.
Turban, D. B., & Keon, T. L. (1993). Organizational attractiveness: An interactionist perspective. Journal of Applied Psychology, 78(2), 184.
Walt, G., & Gilson, L. (1994). Reforming the health sector in developing countries: the central role of policy analysis. Health policy and planning, 9(4), 353-370.
Weick, K. E., & Quinn, R. E. (1999). Organizational change and development. Annual review of psychology, 50(1), 361-386.
Yukl, G. A. (1998). Leadership in organizations (7th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้เขียน
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จะถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ