คุณภาพในการให้บริการของยิมมวยไทย RSM Academy

ผู้แต่ง

  • สุธามาศ โคกชู มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  • วิชัย โถสุวรรณจินดา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  • อรพิน ปิยะสกุลเกียรติ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

คำสำคัญ:

คุณภาพในการให้บริการ, ยิมมวยไทย

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพในการให้บริการของยิมมวยไทย RSM Academy จากกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้บริการยิมมวยไทย RSM Academy จำนวน 317 คน เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เป็นวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 25 - 35 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 - 20,000 บาทสถานภาพโสด และจำนวนครั้งที่มาใช้บริการ 5 ครั้ง คุณภาพในการให้บริการของยิมมวยไทย RSM Academy พบว่า ภาพรวมอยู่ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย พบว่า ค่าเฉลี่ยมากที่สุดได้แก่ ด้านการดูแลเอาใจใส่ รองลงมาได้แก่ ด้านการตอบสนองคุณภาพการบริการ ด้านรูปลักษณ์ทางกายภาพ ด้านการสร้างความมั่นใจ และน้อยที่สุด ด้านความน่าเชื่อถือ ตามลำดับ

References

การกีฬาแห่งประเทศไทย. (2544). แผนพัฒนากีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (2545 – 2549). กรุงเทพฯ:ไทยมิตรการพิมพ์.

กนกพร ลีลาเทพินทร์, พัชญา มาลือศรี และปรารถนา ปุณณกิติเกษม. (2554). การประเมินระดับ คุณภาพการบริการของโรงพยาบาลรัฐบาลในกรุงเทพฯ ด้วยแบบจำลอง SERVQUAL. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 34(4), 443-456.

กาญจนาถ โพธิศาสตร์. (2553). คุณภาพการให้บริการของธนาคารไทยพาณิชย์จำกัด (มหาชน) สาขาสี่แยกสนามบินเชียงใหม่. (ปัญหาพิเศษปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่โจ้).

ชาญชัย ยมดิษฐ์. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการของค่ายมวยไทยต่อนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มาเรียนมวยไทยในค่ายมวยไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

ฐิตารีย์ ดุรงค์ดำรงชัย, ฌัชณานันท์ นิติวัฒนะ และมลิจันทร์ ทองคำ. (2562). คุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อความภักดีในบริบทของฟิตเนสเซ็นเตอร์: แบบจำลองแนวคิดและข้อเสนอแนะเบื้องต้น. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 13(3), 108-119.

เทเวศร์ พิริยะพฤนท์. (2529). หลักการฝึกว่ายน้ำ. กรุงเทพฯ: งานวิจัยส่งเสริมและตำรามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศึกษาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

พัชรมน รักษพลเดช และอนุพงษ์ แต้ศิลปะสาธิต. (2560). รูปแบบการจัดการธุรกิจมวยไทยอาชีพในประเทศไทย. Veidian E-Journal, Silpakorn University, 10(1), 1255-1269.

ยิมมวยไทย RSM Academy. (2560). คู่มือการบริหารยิมมวยไทย RSM Academy. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

สาธิต เชื้ออยู่นาน, จิตรลดา ยางยุทธ, จุติพร ชัยพิวงศ์, วชิราภรณ์ ศรีละออง, อรอุมา หมั่นการ และเอื้อมเดือน สุขประเสริฐ. (2562). ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการบิ๊กแบร์ยิม อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 21(1), 1-6.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2545). แผนพัฒนาเศรษฐกิจcละสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L.L. (1990). Delivering quality service: Balancing Customer perceptions and expectations. New York: The Free Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-30