ผู้นำทีมงานกับการสร้างประสิทธิผลขององค์กร

ผู้แต่ง

  • ธนารัฐ ฉ่ำสุริยา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • รุ่งทิพย์ นิลพัท คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • นาถรพี ชัยมงคล คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

ผู้นำ, ภาวะผู้นำ, ประสิทธิผลขององค์กร

บทคัดย่อ

การทำงานเป็นทีมนั้นถือเป็นกลยุทธ์ของการพัฒนาองค์กรอย่างหนึ่งและถูกนำมาใช้ในองค์กรต่าง ๆอย่างแพร่หลายผู้นำทีมจึงเป็นผู้นำกลุ่มของบุคคลที่มีลักษณะเฉพาะและมีความเกี่ยวข้องต่อกันเพื่อร่วมกันทำงานให้บรรลุวัตถุประสงค์เป้าหมายช่วยให้องค์กรเกิดความความก้าวหน้ายิ่งขึ้น ดังนั้น ความมีประสิทธิผลของทีมจึงถือเป็นส่วนหนึ่งของความสำเร็จขององค์กรด้วยเช่นกัน ประสิทธิผลของทีม หมายถึง การที่ทีมบรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ซึ่งสะท้อนให้เห็นในรูปของผลผลิตที่เกิดจากการดำเนินงานของทีม โดยมีผู้นำทีมแสดงบทบาทในการบริหารงานให้ได้จึงถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่สําคัญ มีปัจจัยหลายๆด้านในการที่ผู้นำทีมงานต้องสร้างทีม การมีส่วนร่วม มีการสื่อสารเชิงบวก การตัดสินใจ มีคุณธรรม การขจัดความขัดแย้ง หรือแม้กระทั่งการดึงความสามารถดึงศักยภาพของทีมงานออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยผู้นำทีมงานที่ดีจะต้องบริหารจัดการจัดคนให้เหมาะกับงานและพัฒนาทีมงานเพื่อสร้างผลผลิตผลสำเร็จให้บรรลุวัตถุประสงค์เป้าหมายขององค์กรที่กำหนดไว้

References

กัญญาภรณ์ นววิจิตรกุล. (2556). คุณลักษณะผู้นำที่พึงประสงค์. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.

กวี วงศ์พุฒ. (2535). ภาวะผู้นำ (Leadership). กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาชีพบัญชี.

ขวัญตา เกื้อกูลรัฐ. (2554). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาขนาดกลาง อำเภอโพธาราม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมการศึกษาราชบุรี เขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).

ชวนะ ภวกานันท์. (2546). เอกสารประกอบการสอน วจ.620 “หลักการจัดการสื่อสารภาครัฐและเอกชน”.คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ฐิตวดี เนียมสุวรรณ์. (2554). รูปแบบภาวะผู้นําแรงจูงใจภายในที่มีอิทธิพลต่อความคิดสร้างสรรค์ของพนักงาน ธนาคารกรุงไทย จำกัดมหาชน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).

จันทนา แสนสุข. (2557). ปัจจัยที่เป็นเหตุและผลของความสามารถภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย, 19(1), 34-46.

ทัศนีย์ จุลอดุง และยุพิน อังสุโรจน์. (2552) การศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นำที่มีประสิทธิผลของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ. วารสารสภาการพยาบาล, 24(4), 43-55.

พิภพ วชังเงิน. (2547). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: บริษัทรวมสาสน์ (1977) จำกัด.

พิจักษณา วงศาโรจน์. (2557). ภาวะผู้นำของผู้บริหารที่พึ่งประสงค์ กรณีศึกษากรมกำลังพลทหารบก. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).

ยุทธนา ทาตายุ. (2543). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการผลิต:กรณีศึกษากองการผลิตบริษัทวิทยุการ บินแห่งประเทศไทย จำกัด. (ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).

ทศพร จันทศร, ภิญโญ มนูศิลป์ และยุพร ริมชลการ. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของทีมในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 9(1), 109-130

รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2544). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ธนธัชการพิมพ์ จำกัด.

วีระวัฒน์ ปันนิตามัย. (2542). เชาว์อารมณ์ (EQ) : ดัชนีวัดความสุขและความสำเร็จในชีวิตฺ. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด.

ศิริน้อย นิภานันท์. (2534). ภาวะผู้นำกับประสิทธิผลองค์การ: ศึกษากรณีสหกรณ์การเกษตรในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

สมพงษ์ เกษมสิน. (2544). การบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: เกษมสุวรรณ.

สุวรรณา วิไลวัลย์, มนตรี พิริยะกุล และประยงค์ มีใจ. (2560). อิทธิพลของภาวะผู้นำเชิงสถานการณ์ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงาน ของทีมงานของหัวหน้าส่วนบริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง, 5(2), 75-83.

สุพานี สฤษฏ์วานิช. (2552). พฤติกรรมองค์กรการสมัยใหม่ :แนวคิดและทฤษฏี. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อุษณา ภัทรมนตรี. (2547). การตรวจสอบภายในสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อุไรรัตน์ วัฒนาสงวนศักดิ์. (2549). ความสัมพันธ์ระหว่างเชาว์อารมณ์ ความสามารถในการเผชิญหน้า และฝ่าฟันอุปสรรคและผลการปฏิบัติของพนักงานฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์กรณีศึกษา บริษัท โทรคมนาคมแห่งหนึ่ง. (วิทยานิพนธ์ศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).

Den Hartog, D.N., & Koopman, P.L. (2001). Leadership in Organization. Handbook of Industrial, Work, and Organizational Psychology: Volume 2 Organizational Psychology. London: Sage.

Fiedler, F. E. (1967). A Theory of Leadership Effectiveness. New York: Mcgraw-Hill.

Fayol, H. (1923). Industrial and general Administration. New jersey : Cliftion.

Miskel, C. G., & Hoy, W. K. (2001). Educational administration: Theory, research, and practice. Levi, D. (2007). Group Dynamic for Teams (2nd ed). Los Angeles: Sage Publications, Inc.

Mintzberg, H. (1979). The Structuring of Organization: A Synthesis of research. Englewood Cliffs, N.J. :Prentice-Hall.

Mott, R.M. (1972). Organization effectiveness. Santa Monica : Good Year Sachs, Benjamin M. (1966). Educational Administration: A Behavioral Approach. Boston : Hougton Miffin Co., Ltd.

Wright, P. M., & Snell, S. A. (1998). Toward a unifying framework for exploring fit and flexibility in strategic human resource management. Academy of Management Review, 23, 756–772.

Yeatts, D.E. & Hyten, C. (1998). High-Performing Self-Managing Work Teams A Comparison of Theory to Practice. California: Sage Publication, Inc.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-28