การสร้างประสิทธิภาพของการสื่อสารภายในองค์กรเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ
คำสำคัญ:
ประสิทธิภาพ, การสื่อสารภายในองค์กร, ความสามารถในการแข่งขันบทคัดย่อ
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่จะทำให้องค์กรสามารถสร้างความได้เปรียบคู่แข่งขัน เพราะความสามารถการสื่อสารที่สะดวก รวดเร็ว และทันยุคทันสมัย การสื่อสารโดยการพูด การสื่อสารโดยการเขียน การสื่อสารโดยการแสดงออกทางด้านร่างกายที่ทันสมัยโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ไม่ว่าจะเป็น แอพพลิเคชั่นไลน์ เฟสบุ๊ค หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของผู้ส่งที่เกิดขึ้นตามสถานการณ์ เข้ามาช่วยให้การสื่อสารสะดวก รวดเร็ว และสามารถสร้างความได้เปรียบคู่แข่งขัน การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพจะทำให้การแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานได้ดีขึ้นและช่วยลดความเสี่ยงความผิดพลาดจากการทำงาน ทำให้ทีมงานที่มีพลังงานเชิงบวกในการทำงานร่วมกันเพิ่มศักยภาพการแข่งขันขององค์กรในยุคธุรกิจดิจิตอล ผู้บริหารที่ต้องการความสำเร็จ ควรหันมาให้ความสำคัญกับการสื่อสารภายในองค์กร ด้วยการสร้างประสิทธิภาพในการสื่อสารภายในองค์กร เพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่องค์กรตั้งไว้ การสื่อสารที่ดีนำไปสู่ความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจโดยใช้แนวคิด การบริหารจัดการทางการสื่อสารตั้งแต่การวางแผนการบริหาร และการประเมินการสื่อสารที่องค์กรต้องดำเนินการทั้งภายในและภายนอกองค์กร ซึ่งส่งผลต่อความสามารถหรือสมรรถนะขององค์กรในการแข่งขันเพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายที่วางไว้
References
กัลยพัชร ชาคร. (2557). การเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของสำนักราชเลขาธิการ ศึกษากรณีช่องทางการสื่อสาร (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันการต่างประเทศ เทวะวงศ์วโรปการ กระทรวงการต่างประเทศ
พรรณปพร โภคัง และคณะ. (2554). แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของคณะเทคโนโลยีการเกษตร. คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
พิบูล ทีปะปาล. (2555). พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ์.
มงคล หอทอง. (2560). กลยุทธ์การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของกำลังพลและบุคลากรในหน่วยหรือองค์กร. วิทยาลัยการทัพบก
รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2556). พฤติกรรมองค์การ Organizational Behavior. นนทบุรี: บริษัท กรีนแอปเปิ้ล กราฟฟิค พริ้นติ้ง จำกัด
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : บริษัท นานมีบุ๊คพับลิเคชั่นส์ จำกัด.
วนาวัลย์ ดาตี้. (2552). การสื่อสารภายในองค์กร: ปัจจัยเอื้อความสำเร็จในการสร้างความแตกต่างขององค์กรระดับประเทศ. พิษณุโลก : คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วิโรจน์ โสวัณณะ. (2545). คู่มือสู่ความสำเร็จอันไร้ขอบเขต. กรุงเทพฯ : สำนักงานนิตยสารโลกทิพย์.
วันชัย มีชาติ. (2556). พฤติกรรมการบริหารองค์การสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2552). พฤติกรรมองค์กรสมัยใหม่: แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุวัลยา โพธิ์พะเนาว์. (2552). การพัฒนาการสื่อสารในสำนักงานเขตการศึกษานครราชสีมา เขต 2. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
อนันท์ งามสะอาด. (2551). การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคเดชอุดมด้วยกิจกรรมการเรียนรู้เชิงบูรณาการ. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
อภิชญา อยู่ในธรรม. (2553). รูปแบบการสื่อสารและกระบวนการทำ งานของฝ่ายบริหารงานลูกค้าบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Belch, G. E., & Belch, M. A. (2004). Advertising and Promotion: An Integrated Marketing Communications Perspective. 6th ed. Boston: McGraw-Hill Company.
Sabyasachi, D. Biswal, S. K., & Ramesh, M. A. (2016). Holistic Approaches to Brand Culture and Communication Across Industries. Hershey PA. IGI Global.
Görkem, S. Y. (2014). Corporate communication in large-scaleorganizations in Turkey: Structure and Responsibilities. Public Relations Review. 40 : 859-861.
Grunig, J. E. (1992). (Ed.) Excellence in Public Relations and Communication Management Hillsdale, NJ: Lawrence Erlbaum.
McShane, S. L., Glinow, V., & Ann, M. (2005). Organizational Behavior. (3rd ed.). New York: McGraw-Hill Company.
Moss, D., Newman, A., & DeSanto, B. (2005). What do communication managers do? Defining and refining the core elements of management in a public relations/corporate communication context. Journalism & Mass Communication Quarterly, 82(4),873-890.
Porter, M. E. (1980). Competitive Strategy; Techniques for Analyzing Industries and Competitors. A Division of Simon & Schuster Inc, Americans New York.
Robbin, S. P., & Judge, T.A. (2017). Organizational Behavior. (17th ed.). : Pearson Education Limited.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้เขียน
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จะถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ