แบบจำลองการวิเคราะห์ความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทางสังคม ของผู้ปฏิบัติงานโลจิสติกส์ในแผนกคลังสินค้าในบริษัทในท่าเรือแหลมฉบัง
คำสำคัญ:
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ , การวิเคราะห์ความจำเป็น , ทักษะทางสังคม , ท่าเรือแหลมฉบัง , คลังสินค้าบทคัดย่อ
การศึกษานี้เป็นเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาวิธีการวิเคราะห์ความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทางสังคมของผู้ปฏิบัติงานโลจิสติกส์ในแผนกคลังสินค้าในบริษัทในท่าเรือแหลมฉบัง และ 2) เพื่อนำเสนอแบบจำลองการวิเคราะห์ความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทางสังคมของผู้ปฏิบัติงานโลจิสติกส์ในแผนกคลังสินค้าในบริษัทในท่าเรือแหลมฉบัง ผู้วิจัยเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้บริหารองค์กร ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล และผู้จัดการฝ่ายโลจิสติกส์ รวม 10 คน ใน 10 บริษัท และศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง และนำมาสร้างแบบจำลองได้ 8 กระบวนการ คือ 1) รวบรวมข้อมูลจากภายนอกและภายในองค์กร 2) วิเคราะห์ข้อมูลและร่างแผนหลักสูตรจากการประชุมระหว่างเดือน 1 เดือน 2 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน 3) พิจารณาความเหมาะสมหลักสูตรและลำดับความสำคัญโดยแผนกฝึกอบรมและพัฒนา 4) พิจารณาอนุมัติโครงการโดยผู้บริหาร 5) ประชาสัมพันธ์ให้ผู้มีส่วนร่วมดำเนินการ 6) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจัดกิจกรรมการพัฒนาตามที่ออกแบบ 7) ประเมินผล และ 8) ปรับปรุงผล จากนั้นผู้วิจัยได้นำเสนอแบบจำลองการวิเคราะห์ความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทางสังคมของผู้ปฏิบัติงานโลจิสติกส์ในแผนกคลังสินค้าในบริษัทในท่าเรือแหลมฉบัง เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมการให้บริการด้านโลจิสติกส์ของไทย
References
กนกวรรณ ปิ่นแก้ว. (2561). การหาความต้องการในการฝึกอบรม. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
การท่าเรือแห่งประเทศไทย. (2564ก). ข้อมูลทั่วไปของท่าเรือแหลมฉบัง. สืบค้นจาก http://lcp.port.co.th/cs/internet/lcp/ข้อมูลทั่วไป.html
การท่าเรือแห่งประเทศไทย. (2564ข). แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2564-2565. สืบค้นจาก http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER6/DRAWER003/GENERAL/DATA0001/00001818.PDF
กีรติกร บุญส่ง และหทัยกานต์ กุลวชิราวรรณ์. (2561). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมที่มีผลต่อประสิทธิภาพของพนักงานปฏิบัติการระดับ 4 กลุ่มวิชาชีพหลัก กลุ่มวิชาชีพสนับสนุนในการขับเคลื่อนองค์การรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่งสู่การเป็นองค์การสมรรถนะสูง (HPO). วารสารปัญญาภิวัฒน์, 10(3), 125-137.
จารุภา อุ่นจางวาง. (2556). การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลัง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).
ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2550). แนวทางการวิเคราะห์หาความจำเป็นในการฝึกอบรม (Training needs anaysis). สืบค้นจาก https://www.botlc.or.th/item/article/02000002326
นราธิป แนวคำดี. (2562). การบริหารแรงงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานในอุตสาหกรรมบริการ: กรณีศึกษา โรงแรมและรีสอร์ทในพื้นที่อำเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด. วารสารวิทยาการจัดการ, 4(2), 41-51.
รัตนา ปฏิสนธิเจริญ. (2555). ความต้องการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในสังกัดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
ราณี อิสิชัยกุล. (2555). การจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วทัญญู สุวรรณเศรษฐ. (2560). การประเมินความจำเป็นในการจัดกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อพัฒนาบริการที่เป็นเลิศในโรงแรม 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร. Journal of HR Intelligence, 12(1), 103-124.
แววดาว จงกลนี และวิวรณ์ วงศ์อรุณ. (2557). แนวทางการจัดการฝึกอบรมพนักงานโรงแรม: ศึกษากรณีโรงแรมในกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 (รายงานการวิจัย). นครปฐม: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม. (2562). ปริมาณการขนส่งสินค้าทางทะเล. สืบค้นจาก https://datagov.mot.go.th/organization/mot-ict
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564. สืบค้นจาก https://www.nesdc.go.th/ewt_news.php?nid=6420&filename=develop_issue
สุชาวดี เวชกามา. (2560). ความต้องการฝึกอบรมของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัท ธรรมรักษ์ ออโต้พาร์ท จำกัด. (การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคำแหง).
Ardahaey, F. T. (2012). Human resources empowerment and its role in the sustainable tourism. Asian Social Science, 8(11), 33-38.
Balcar, J. (2014). Soft skills and their wage returns: Overview of empirical literature. Review of Economic Perspectives, 14(1), 3-15.
Bowen, B., & Shume, T. (2020). Developing workforce skills in K-12 classrooms: How teacher externships increase awareness of the critical role of effective communication. Journal of STEM Education: Innovations and Research, 21(1), 35-43.
Charmaz, K. (2006). Constructing grounded theory: A practical guide through qualitative analysis. UK.: Sage.
Creswell, J. W., & Inquiry, Q. (1998). Research design: Choosing among five traditions. Thousand Oaks, CA: Sage.
DeSimone, R., & Werner, J. (2012). Human resource development [International edition]. Mason, OH: Cengage Learning.
DHL Supply Chain. (2017). The supply chain talent shortage: From gap to crisis. Retrieved from https://www.dhl.com/content/dam/dhl/global/dhl-supply-chain/documents/info-graphics/glo-dsc-talent-gap-survey-infographic.pdf
English, W., & Kaufman, R. (1979). Needs assessment: concept and application. Englewood Cliffs, N.J.: Educational Technology.
John, J. (2009). Study on the nature of impact of soft skills training programme on the soft skills development of management students. Pacific Business Review, 7(12), 925-929.
Joungtrakul, J. (2010). Qualitative research: A tool for knowledge creation for national development. Bangkok: Business Law Center International Company Limited.
Klayluck, P., Chanbanchong, C., Pakdeewong, P., & Konpong, A. (2013). A model of teamwork competency development for education personnel work in the office of primary education service areas. Journal of Education Naresuan University, 15(5), 136-145.
Nandakumar, V. M., & Nitesh, S. (2013). A proportional scrutiny on various training needs analysis methodology: A pragmatic study among five-star hotels of Kerala. Journal of Management and Science, 3(1), 1-6.
Noe, R. A. (2005). Employee training and development. New York: McGraw-Hill.
Raymond, A. S. (2018). Physics for scientists and engineers with modern physics. USA.: Thomson.
Urbinner. (2020). Facilitator คืออะไร? มีหน้าที่ทำอะไร?. Retrieved from https://www.urbinner.com/post/what-is-facilitator-and-roles-responsibilities-types
Wanpiroon, P. (2011). The development of blended learning model by using cognitive tools to develop critical thinking skills. Bangkok: King Mongkut’s University of Technology North Bangkok.
Yorks, L. (2005). Strategic human resource development. South Western Thomson: Mason, OH.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 Kanokwan Sakunsongdej, Watunyoo Suwannaset, Paratchanun Charoenarpornwattana
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้เขียน
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จะถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ