การวิเคราะห์บรรณานุกรมและการแสดงภาพของ สมรรถนะและบุคลากรในงานภาพยนตร์

ผู้แต่ง

  • สุกกัญญา บูรณเดชาชัย คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
  • ขจรศักดิ์ กั้นใช้ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
  • ชนาภรณ์ ปัญญาการผล คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์บรรณานุกรม , สมรรถนะ, บุคลากรในงานภาพยนตร์ , อุตสาหกรรมภาพยนตร์

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการรวบรวมบทความและหนังสือจำนวน 61 ข้อมูลที่กล่าวถึงสมถรรถนะ ทักษะ พฤติกรรม และจริยธรรมสื่อที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรในงานภาพยนตร์เป็นหลัก ส่วนรองลงมาคืออุตสาหกรรมของภาพยนตร์ โดยเริ่มศึกษาจากฐานข้อมูล Elsevier ที่ผ่านมาตรฐานของ Scopus ทั้งหมดพบว่าข้อมูลแรกเริ่มกล่าวถึงความเป็นมืออาชีพในงานสื่อภาพและเสียงในปี พ.ศ. 2496 แล้วเริ่มมีการกล่าวถึงอย่างแพร่หลายและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยยะสำคัญในปี พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2565 จากใช้ VOSviewer การวิเคราะห์บรรณานุกรมและการแสดงภาพด้วยข้อมูลทั้งหมด พบว่า สมรรถนะและบุคลากรในงานภาพยนตร์มีช่องว่างของความรู้ที่สำคัญที่ยังไม่ค้นพบถึงความเกี่ยวข้องกัน รวมทั้งจุดสังเกตทั้งประสบการณ์ ความเป็นมืออาชีพ จริยธรรม และความท้าทาย ก็มีช่องว่างของความรู้กับสมรรถนะด้วยเช่นกัน

References

คณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ. (2559). การปฏิรูปเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์และเชิงวัฒนธรรม (Creative and Cultural Economy). https://dl.parliament.go.th/bitstream/handle/lirt/471168/CR125590328.pdf?sequence=1

อธิเทพ งามศิลปเสถียร. (2563). แนวทางการยกระดับคุณภาพของสถานที่ถ่ายทําภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ในประเทศเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, 11(2), 60-74.

Agarwal, A., Durairajanayagam, D., Tatagari, S., Esteves, S.C., Harlev, A., Henkel, R., Roychoudhury, S., Homa, S., Puchalt, N.G., & Ramasamy, R. (2016). Bibliometrics: tracking research impact by selecting the appropriate metrics. Asian Journal of Andrology, 18(2), 296.

Castillo-Vergara, M., Alvarez-Marin, A., & Placencio-Hidalgo, D. (2018). A bibliometric analysis of creativity in the field of business economics. Journal of Business Research, 85, 1–9. https://doi.org/10.1016/j.jbusres.2017.12.011

Elsevier. (2020). SCOPUS Content Coverage Guide.

https://www.elsevier.com/data/assets/pdf_file/0007/69451/Scopus_ContentCoverage_Guide_WEB.pdf

Finn, J. (1953). Professionalizing the audio-visual field. Audiovisual communication review, 1(1), 6-17.

Fryzek, J. P., Chadda, B. K., Cohen, S. S., Marano, D., White, K., Steinwandel, M., McLaughlin, J. K. (2005). Retrospective cohort mortality study of workers engaged in motion picture film processing. Journal of Occupational and Environmental Medicine, 47(3), 78-86. doi: 10.1097/01.jom.0000155712.22617.42.

Meng, L., Wen, K.-H., Brewin, R., & Wu, Q. (2020). Knowledge atlas on the relationship between urban street space and residents’ health a bibliometric analysis based on VOSviewer and CiteSpace. Sustainability, 12(6), 2384. https://doi.org/10.3390/su12062384

Moya-Jorge, T. (1970). Towards a film literacy canon: identification and multicultural analysis of the contents used in film education with pre-university students in Spain. Communication & Society.

Sweileh, W. M. (2018). Research trends on human trafficking: a biblio- metric analysis using Scopus database. Journal of Global Health, 14(1), 1–12 .

Van Eck, N. J., & Waltman, L. (2010). Software survey: VOSviewer, a computer program for bibliometric mapping. Scientometrics, 84(2), 523–538.

Yas, H., Jusoh, A., Abbas, A. F., Mardani, A., & Nor, K. M. (2020). A review and bibliometric analysis of service quality and customer satisfaction by using Scopus database. International Journal of Management, 11(8), 459–470.

Yu, Y., Li, Y., Zhang, Z., Gu, Z., Zhong, H., Zha, Q., Yang, L., Zhu, C., & Chen, E. (2020). A bibliometric analysis using VOSviewer of publications on COVID-19. Annals of Translational Medicine, 8(13), 816. https://doi.org/10.21037/atm-20-4235

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-29