กลุ่มอ้างอิงและรูปแบบการดำเนินชีวิตที่มีอิทธิพลต่อรูปแบบการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นไม่จำกัดเพศผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชันวายและเจเนอเรชันแซดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
คำสำคัญ:
กลุ่มอ้างอิง, รูปแบบการดำเนินชีวิต, รูปแบบการตัดสินใจซื้อบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลุ่มอ้างอิงและรูปแบบการดำเนินชีวิตที่มีอิทธิพลต่อรูปแบบการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นไม่จำกัดเพศผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชันวายและเจเนอเรชันแซดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประชากรที่ใช้ในการวิจัยนี้คือ ผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชันวายและเจเนอเรชันแซด (อายุ 18 – 42 ปี) และอาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มอ้างอิง ได้แก่ สมาชิกในครอบครัว ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีความรู้ และผู้มีชื่อเสียง มีอิทธิพลต่อรูปแบบการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นไม่จำกัดเพศผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชันวายและเจเนอเรชันแซดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีอำนาจในการพยากรณ์อยู่ร้อยละ 69.7 และรูปแบบการดำเนินชีวิต ได้แก่ ด้านการจัดสรรเวลาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ด้านความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ และด้านความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ มีอิทธิพลต่อรูปแบบการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นไม่จำกัดเพศผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชันวายและเจเนอเรชันแซดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีอำนาจในการพยากรณ์อยู่ร้อยละ 64.6
References
กัลยา วานิชย์บัญชา, และฐิตา วานิชย์บัญชา. (2558). การใช้ SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูล (พิมพ์ครั้งที่ 27). โรงพิมพ์สามลดา.
เกรียงศักดิ์ สันติพจนา. (2560). รูปแบบในการตัดสินใจซื้ออาคารชุด และการจัดกลุ่มผู้บริโภอาคารชุดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารบริหารธุรกิจ, 40(154), 18-36.
จีรนันท์ สุธิตานนท์. (2563). รูปแบบการดำเนินชีวิตของลูกค้ากลุ่มเจนเนอเรชั่นวายที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้า ประเภทเสื้อผ้าแฟชั่น. วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 8(1), 164-175.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2558). พฤติกรรมผู้บริโภค (พิมพ์ครั้งงที่5). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฑัชวงษ์ จุสสวัสดิ์. (2560). การศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งผลต่อความภักดีของผลิตภัณฑ์แฟชั่นของกลุ่ม Gen Y เพศชายและเกย์ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ณฐมน แก้วพิทูล. (2557). ศึกษารูปแบบการดำเนินชีวิตของกลุ่มผู้ฟังสถานีวิทยุชุมชน : กรณีศึกษาวิทยุชุมชนเชิงพาณิชย์ที่ใช้การสื่อสารการตลาดผ่านช่องทางสื่อใหม่. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 9(2), 60-90.
ทรงพร นิรพาธ. (2562). รูปแบบการดำเนินชีวิต แรงจูงใจ และการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงที่ส่งผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เลือกท่องเที่ยว เชิงเกษตร ณ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีตัวแปรการรับรู้ด้านอัตลักษณ์ของสถานที่ท่องเที่ยวเป็นตัวแปรควบคุม [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. DSpace at Maejo University. http://ir.mju.ac.th/dspace/handle/123456789/1047
ธนพงศ์ ธนวุฒิสกุลชัย, และพัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล. (2563). กลุ่มอ้างอิงและคุณค่าตราสินค้าที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อเกมมิ่งเกียร์แบรนด์โลจิเทค เกมมิ่งของลูกค้าชาวไทย. ใน วรรณี ศุขสาตร (บ.ก.), การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 15 (น. 317-328). มหาวิทยาลัยรังสิต.
พรชนก บุญญานันทกุล. (2565). การประเมินทางเลือกก่อนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม : มโนทัศน์ และตัวแบบเชิงทฤษฎี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์, 6(1), 1-13.
พสุ เดชะรินทร์. (2564, 10 สิงหาคม). ผู้บริโภค Gen Z. กรุงเทพธุรกิจ. https://www.bangkokbiznews.com/blogs/columniet/127955
พิมพ์พลอย ธรรมโชโต, และพรพรรณ ประจักษ์เนตร. (2560).ปัจจัยการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการและอิทธิพลของกลุ่มอ้างอิงต่อพฤติกรรมการทำศัลยกรรมความงานของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการสื่อสารและการจัดการ นิด้า, 3(2), 1-18.
ภัชรกรณ์ โสตติมานนท์. (2565, 27 กุมภาพันธ์). ‘Unisex’ มากกว่าแฟชั่นคือความเท่าเทียม. WAY Magazine. https://waymagazine.org/unisex-fashion/
ภัทรพล เนตระชาติ, และพัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการและกลุ่มอ้างอิงที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการสถานที่จัดงานแต่งงานของผู้ใช้บริการในจังหวัดนนทบุรี. ใน วรรณี ศุขสาตร (บ.ก.), การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 14 (น. 1179-1194). มหาวิทยาลัยรังสิต.
แมนสรวง สุรางครัตน์, ไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์, และธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ. (2563). การเลือกช่องทางในการฟังเพลงไทยสากล ของผู้บริโภคเจนวายและเจนแซดในกรุงเทพมหานคร. วารสารดนตรีรังสิต, 15(2), 126-137.
รัตนภิมล ศรีทองสุข, และพัชนี เชยจรรยา. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจเข้าร่วมการตลาดเชิงกิจกรรมของกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย และเจเนอเรชั่นแซดในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการสื่อสารและการจัดการ นิด้า, 3(1), 1-19
ลงทุนศาสตร์. (2565). การตลาดของสินค้าไร้เพศ น่าสนใจอย่างไร. https://www.investerest.co/business/unisex-fashion/
ลภัสดาศรณ์ โชคหิรัญธนากูล, และธาตรี ใต้ฟ้าพูล. (2563). รูปแบบการดำเนินชีวิตและพฤติกรรมการบริโภคตราสินค้าของเจเนอเรชันมี. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 13(1), 24-38.
ลิษา เศษสุวรรณ์, และสุทธิภัทร อัศวชัยโรจน์. (2566). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดแนวใหม่ (4C’s) และรูปแบบการดำเนินชีวิต (Lifestyle) ที่ส่งผมต่อการตัดสินใจซื้ออาหารเพื่อสุขภาพผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดปทุมธานี. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 6(2), 191-204.
เศรษฐวิฐฬ์ คงกะพันธ์. (2564). อิทธิพลของรูปแบบการดำเนินชีวิตและค่านิยมที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมของผู้บริโภคกลุ่มเจเนอเรชั่นวาย จังหวัดภูเก็ต. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 7(1), 30-43.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2565). จำนวนประชากรจากการทะเบียน จำแนกตามอายุ เพศ ภาคและจังหวัด พ.ศ. 2565. http://statbbi.nso.go.th/staticreport/Page/sector/TH/report/sector_01_11101_TH_.xlsx
อังคาร คะชาวังศรี. (2563). การตั้งใจซื้อสินค้าแฟชั่นผ่านช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์ของกลุ่มผู้บริโภค Generation Y ในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดาฎีบัณฑิต]. RSUIR at Rangsit University. https://rsuir-library.rsu.ac.th/handle/123456789/323
Amnesty International Thailand. (2022). บทความสัมภาษณ์ : Agender fashion สู่ความเท่าดทียมทางเพศ กับม่อน เจตน์ตุรงค์ เจ้าของแอค Tiktok ที่มีผู้ติดตามกว่าหนึ่งแสนคน. https://www.amnesty.or.th/latest/blog/988/
Business Today. (2020). เปิดขุมทรัพย์ LGBT ในไทยสวรรค์แห่งความหลากหลายทางเพศ. https://www.businesstoday.co/bt-news/30/01/2020/22814/
Herrmann, V. (2022). Is Fashion’s Future Genderless? https://stylesage.co/blog/is-fashions-future-genderless/
Kopf, D. (2019). Generation Z’s views on gender are what set it apart in the US. https://qz.com/emails/quartz-weekend-brief/1849713991/alphabets-soups
Kotler, P. (2012). Marketing management: Analysis, planning, implementation and control (14th ed.). Prentice Hall.
Kotler, P., & Armstrong, G. (2010). Principles of marketing. Pearson education.
Marci, K. (2020). The need for gender fluidity in fashion beyond Pride. https://blog.edited.
com/blog/resources/the-need-for-gender-fluidity-in-fashion-beyond-pride
Marisa. (2021). พฤติกรรมผู้บริโภค ปี 2022 เจาะลึกทุกการเปลี่ยนแปลงของเทรนด์. https://contentshifu.com/blog/consumer-behavior-trends-2022#i-2
Marisa. (2021). พฤติกรรมผู้บริโภค ปี 2022 เจาะลึกทุกการเปลี่ยนแปลงของเทรนด์. https://contentshifu.com/blog/consumer-behavior-trends-2022#i-2
Muangtum, N. (2021). สรุป Consumer Insight 5 Genertian 2023. https://www.everydaymarketing.co/trend-insight/consumer-insight-all-generation-baby-boomer-gen-x-gen-y-millennial-gen-z-alpha-from-tcdc/
Palagrit. (2021). เจาะลึก Gen Z เคล็ดลับทำงานกับคน Gen Z ยังไงให้เวิร์ค. https://www.palagrit.com/insight-gen-z/
Plummer, J. T. (1974). The concept and application of life style segmentation. Journal of Marketing, 38(1), 33-37.
Rojanasoton, S. (2020). เปิดข้อมูลเชิงลึกการตลาดสำหรับ Gen Z. https://www.thumbsup.in.th/guide-marketing-gen-z
Solomon, M. R. (2018). Consumer behavior: Buying, having, and being (12th ed.). Pearson Prentice Hall.
Sproles, G. B., & Kendall, E. L. (1986). A methodology for profiling consumers’ decision making styles. The Journal of Consumer Affairs, 20(2), 267-279.
Tanachote, P. (2021). เพย 6 รูปแบบการดำเนินชีวิตพร้อมวิธีเจาะตลาดผู้บริโภคกลุ่ม Gen Y ปี 2021 ที่นักการตลาดต้องรู้. https://thegrowthmaster.com/trends/6-lifestyles-of-generation-y-in-2021
Tyagi, C. L., & Kumar, A. (2004). Consumer Behavior. Mehra Offset.
Workpoint Today. (2022). ความเปลี่ยนแปลงของ ‘เทคโนโลยี’ และ ‘ความหลากหลาย’ หมุดหมายสำคัญของความสำเร็จในโลกธุรกิจยุคใหม่. https://workpointtoday.com/meta-pride-month-2022/
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd ed.). Harper and Row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 เฉิงเหย้า เห้อ, พัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้เขียน
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จะถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ