ความคิดเห็นของการดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ ของหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คำสำคัญ:
การดึงดูดนักท่องเที่ยว , การท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ , หมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยด้านศักยภาพของหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนที่ส่งผลต่อการดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ของหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) ปัจจัยด้านศักยภาพของผลิตภัณฑ์ของหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนที่ส่งผลต่อการดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ของหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ 3) ปัจจัยด้านศักยภาพการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนในการประชาสัมพันธ์ของหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนที่ส่งผลต่อการดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ของหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ชุด และใช้การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยด้านศักยภาพของหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนที่มีผลต่อการดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวยังหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ได้แก่ ด้านความยั่งยืนของการอนุรักษ์ถึงทรัพยากรทางธรรมชาติ 2) ปัจจัยด้านศักยภาพของผลิตภัณฑ์ของหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนที่ส่งผลต่อการดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวยังหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ได้แก่ ด้านมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน และ 3) ปัจจัยด้านศักยภาพการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนในการประชาสัมพันธ์ของหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนที่ส่งผลต่อการดึงดูดนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยวยังหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ได้แก่ ด้านความร่วมมือจากภาครัฐ
References
กรมการท่องเที่ยว (2565). แผนพัฒนาบริการท่องเที่ยว พ.ศ. 2566-2570. https://www.dot.go.th/storage/
กองพัฒนาบริการ/แผนกองฯ/QtftdpYXKOCrXLds1f5xJfseslXaXcpgu3q3oDnM.pdf
กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา (2564). แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมปีท่องเที่ยวไทย 2565. https://resolution.soc.go.th/PDF_UPLOAD/2564/P_405074_4.pdf
กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา (2565). แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2565). https://secretary.mots.go.th/ewtadmin/ewt/secretary/download/article/article_20220610151812.pdf
กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา (2567). สถิตินักท่องเที่ยวภายในประเทศ Q1-Q4 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) https://www.mots.go.th/news/category/766
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2566). ททท. เปิดเกม “ปีท่องเที่ยวไทย 2566” เร่งเครื่องยกระดับห่วงโซ่อุปทาน กระตุ้นตลาดคุณภาพสู่ความยั่งยืนด้วย “Meaningful Travel” มั่นใจฟื้นรายได้สูงสุด 2.38 ล้านล้านบาท. https://thai.tourismthailand.org/Articles/ปีท่องเที่ยวไทย-2566
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ (2566). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 – 2570). https://province.mots.go.th/ewtadmin/ewt/ranong/download/article/article_20230418122435.pdf
จิตศักดิ์ พุฒจร, ทิพย์สุดา พุฒจร, ศุภรัตน์ แสงฉัตรแก้ว, สไบทิพย์ มงคลนิมิตร์, เกศราพร พรหมนิมิตกุล, จิรัชญา โชติโสภานนท์, ฐิติมา เวชพงศ์, และ ธนวรรษ ดอกจันทร์ (2562). การพัฒนาแนวทางการตลาดที่เหมาะสมสำหรับสินค้าการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ท้องถิ่น (Local Experience)
ของประเทศไทย ภายใต้โครงการ The LINK. Silpakorn University Repository. https://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/15837?attempt=2&
จุฑาธิปต์ จันทร์เอียด อังสุมาลิน จำนงชอบ และณัฏฐพัชร มณีโรจน์ (2562). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์โดยชุมชนของกลุ่มชาติพันธุ์ลาวเวียง ตำบลศรีนาวา จังหวัดนครนายก. วารสารสหศาสตร์ศรีปทุม ชลบุรี 5(1), 1-18.
เจตนา พัฒนาจันทร์ (2562). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน ชุมชนวัดตาล ตำบลบางเสด็จ อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. DSpace at Silpakorn University. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2559
ชัญญานุช ยุทธวรวิทย์ (2565). การศึกษาโมเดลการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. CMMU Digital Archive. https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4669
ฐิญาภา เสถียรคมสรไกร และ พิมพ์สิรี สุวรรณ (2566). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกทางการท่องเที่ยวด้วยนวัตกรรมเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ทรัพยากรท้องถิ่น. Journal of Roi Kaensarn Academi, 8(2), 411-432.
ณรงค์ พลีรักษ์ และ ปริญญา นาคปฐม (2560). การศึกษาโอกาสในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์ในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย. Burapha University Research Information. https://buuir.buu.ac.th/handle/1234567890/3530
ไทยรัฐมันนี่ (2566). ปรับโฉมอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ททท.ฮีโร่ในวิกฤติเศรษฐกิจ. https://www.thairath.co.th/money/economics/thailand_econ/2701763
ปฏิมาศ เสริฐเลิศ (2562). การจัดการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพทางวัฒนธรรม บ้านโนนนาเกลี้ยงอำเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. https://fulltext.rmu.ac.th/fulltext/2562/M127611/Sertlert%20Patimas.pdf
ประกาย วุฒิพิพัฒนพงศ์, ชูศักดิ์ อินทมนต์ และ ฐิติมา สุ่มแสนหาญ (2566). แนวทางการดึงดูดนักท่องเที่ยวเพื่อนำไปสู่การท่องเที่ยวโดยชุมชนตามโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี กรณีศึกษา: หมู่บ้านท่องเที่ยวทางธรรมชาติและวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน (ซะซอมโฮมสเตย์) อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 12(1), 41-63.
วรรณวีร์ บุญคุ้ม (2560). แรงจูงใจในการมาเยือนวัดสำคัญในจังหวัดเพชรบุรีและการรับรู้ที่มีอิทธิพลต่อการกลับมาเยือนซ้ำของนักท่องเที่ยวชาวไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. DPU Learning Center & Library. https://libdoc.dpu.ac.th/thesis/161395.pdf
วิคิเนีย มายอร์ (2554). การศึกษาเเรงจูงใจการท่องเที่ยวและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยมราเดินทางมาท่องเที่ยวบ่อน้ำร้อนรักษะวารินและบ่อน้ำร้อนพรรั้ง จังหวัดระนอง [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. DPU Learning Center & Library. https://libdoc.dpu.ac.th/thesis/149668.pdf
สมเชาวน์ บำรุงชัย (2559). รูปแบบการพัฒนาชุมชนยั่งยืนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย. วารสารสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 22(1), 70-78.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13. https://www.nesdc.go.th/download/
อภิชัย ธรรมนิยม และ พิมพิลา คงขาว (2562). การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนสู่มาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชนอาเซียน กรณีศึกษา บ้านกู่ อาเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 13(3), 108-117.
อัจฉริยาพร คันธมาลาเจริญ (2564). การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวในแนวทางการท่องเที่ยว 4.0 กรณีศึกษาพื้นที่ตำบลกิ๊ดช้าง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์และงานวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้. http://mdc.library.mju.ac.th/thesis/2564/artchariyaporn_kantamalajaroen/fulltext.pdf
อุมารินทร์ ราตรี (2562). การพัฒนากลยุทธ์การตลาดท่องเที่ยวเชิงประสบการณ์กรณีศึกษาย่านเมืองเก่า จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 13(3), 93-106.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 ประกาย วุฒิพิพัฒนพงศ์, ชาลินี ปลูกผลงาม, ฐิติมา สุ่มแสนหาญ, ชูศักดิ์ อินทมนต์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้เขียน
ทัศนะและความคิดเห็นที่ปรากฏในบทความในวารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์จะถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความนั้น และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ