พื้นที่สร้างสรรค์” กลไกการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในการสร้างความเป็นพลเมืองให้เยาวชนไทย

ผู้แต่ง

  • นันทิยา ดวงภุมเมศ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
  • สิรินทร พิบูลภานุวัธน์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

พื้นที่สร้างสรรค์, การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม, ความเป็นพลเมือง, เยาวชน

บทคัดย่อ

“พื้นที่สร้างสรรค์ เป็นแนวคิดในการรณรงค์ที่ใช้การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อเปิดโอกาสให้เยาวชนได้ริเริ่ม ออกแบบ และขับเคลื่อนกิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการและบริบทในการดำเนินชีวิต ซึ่งการวิจัยถึงผลกระทบของพื้นที่สร้างสรรค์ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของเยาวชนในมิติของความเป็นพลเมือง พบว่า เยาวชนแกนนำที่มีส่วนร่วมในการดำเนินงานพื้นที่สร้างสรรค์อย่างต่อเนื่องมีกรอบคิดความเป็นพลเมืองที่สะท้อนจากความตระหนักในตนเอง ความตระหนักในความต่าง ความตระหนักถึงความรับผิดชอบ และความตระหนักต่อความเป็นไปในโลก รวมถึงมีลักษณะความเป็นพลเมืองในด้านการกระทำที่ปรากฎอย่างชัดเจน ทั้งในมิติของการกระทำในชีวิตประจำวัน การกระทำในฐานะพลเมือง และการกระทำที่เป็นธรรมในสังคม จึงทำให้ “พื้นที่สร้างสรรค์” เป็น “นวัตกรรมเชิงกระบวนการ” ที่ใช้การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเป็นกลไกหลักในการสร้างความเป็นพลเมืองให้เยาวชนไทย

References

กาญจนา แก้วเทพ และคณะ (2543), สื่อเพื่อชุมชน: การประมวลองค์ความร้, กรงุเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

นันทิยา ดวงภุมเมศ และคณะ (2559), ประชาธิปไตยในวิถีไทย: ความเข้าใจเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนสู่สังคมสุขภาวะ, นครปฐม: หยิน หยาง การพิมพ์.

ปริญญา เทวานฤมิตกุล (2555), การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง (Civic Education), กรุงเทพฯ:นานมีบุ๊คส์.

ปาริชาติ สถาปิตานนท์ และคณะ (2549), การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมและการพัฒนาชุมชน: จากแนวคิดสู่ปฏิบัติการวิจัยในสังคมไทย, กรุงเทพฯ: ซีโน ดีไซน์.

สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน. (ม.ป.ป.). โครงการรณรงค์พื้นที่สร้างสรรค์ “พื้นที่นี้...ดีจัง 2” กำลังสองร่วมเปลี่ยนประเทศไทยจากมุมเล็กๆ ด้วยจินตนาการอันยิ่งใหญ่ [เอกสารเผยแพร่].กรุงเทพฯ: สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน.

สุทธิรักษ์ โรจนหัสดิน และคณะ (2560), “หลักคิดสำคัญของการจัดการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง”, วิทยบริการ, 28(1): 207-217.

อรรถพล อนันตบวรกุล (ม.ป.ป.) “พลเมืองหลากอัตลักษณ์: ตัวตน ความเป็นพลเมืองและการอยู่ร่วมกันในสังคมหลากหลายวัฒนธรรม”, ใน เมื่อครูไทยเรียนรู้การสอนประชาธิปไตยในออสเตรเลีย [หนังสือรวมบทความ], กรุงเทพฯ: ศูนย์ประสานงานเครือข่ายการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองประชาธิปไตย.

Borhaug, K. (2010), “Norwegian Civic Education-Beyond Formalism?”, Journal of SocialSciences Education, 9(1): 66-77.

Koopmans, R. et al. (2005), Contested Citizenship: Immigration and Cultural Diversity in Europe, Minniapolis: University of Minnesota Press.

Larsen, M. (2014), “Critical Global Citizenship and International Service Learning: A Case Study of the Intensification Effect”, Global Citizenship & Equity Education,4(1): 1-30.

Pancer, M. (2015), The Psychology of Citizenship and Civic Engagement, New York:Oxford University Press.

Parmenter, L. et al. (2008), “Citizenship Education in Japan”, in Arthur, J. et al. (eds.),The Sage Handbook of Education for Citizenship and Democracy, London: Sage.

Print, M. (2008), Education for Democratic Citizenship in Australia: In education for citizenship and democracy, London: Sage.

Westheimer, J. and Kahne, J. (2004), “Educating the ‘Good’ Citizen: Political Choices and Pedagogical”, Political Science and Politics, 37(2): 241-247.

Wilcox, D. (1999), A to Z of Participation, York: Joseph Rowntree Foundation.

สื่อออนไลน์
ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2553), “การสร้างพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย”, สืบค้นเมื่อ 17 มกราคม 2562 จาก https://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9530000178133

เลิศพร อุดมพงษ์ (ม.ป.ป.), “การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง (civic/citizenship education) ในการส่งเสริมบทบาทของภาคพลเมืองในการเมืองระบบตัวแทน: แนวทางที่ยั่งยืนผ่านประสบการณ์จากต่างประเทศ”, สืบค้นเมื่อ 17 มกราคม 2562 จาก https://kpi.ac.th/media/pdf/M8_272.pdf

วรากรณ์ สามโกเศศ (2554), “การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง”, มติชน, สืบค้นเมื่อ 17 มกราคม 2562 จาก https://www.moe.go.th/moe/ th/news/detail.php?NewsID=22721&Key=news_research

Carbonero, M. et al. (2017), “Program to Promote Personal and Social Responsibility in the Secondary Classroom”, retrieved 17 January 2019 from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5439012/

Ekman, J and Zetterberg, P. (2010), “Making Citizens in the Classroom?: Family Background and the Impact of Civic Education in Swedish Schools in Swedish National Agency for Education”, retrieved 17 January 2019 from
https://www.researchgatenetpublication228391754_Making_Citizens_in_the_Classroom_Family_Background_and_
the_Impact_of_Civic_Education_in_Swedish_Schools

Mansouri, F. et al. (2017), “Critical Global Citizenship: Contextualizing Citizenship and Globalization”, Journal of Citizenship and Globalisation Studies, 1(1): 1-9, retrieved 17 January 2019 from https://doi.org/10.1515/jcgs-2017-0001

Stray, J. (2009), “Education for Democratic Citizenship in Norway”, retrieved 17 February 2018 from https://www.ioe.ac.uk/about/documents/About Overview/Stray_J.pdf

The Economist Intelligence Unit (n.d.), “Democracy Index 2017”, retrieved 17 February 2018 from https://www.eiu. com/topic/democracy-index

World Economic Forum (2016), “Fostering Social and Emotional Learning through Technology”, retrieved 17 February 2018 from https://www3.weforum.org/docs/WEF_New_Vision_for_ Education.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

16-05-2019