แนวทางการสร้างสังคมเท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล: เมื่อ “เมืองทั่วถึง” เป็นได้ทั้ง “สื่อ” และ “สาร” เพื่อสร้าง การเปลี่ยนแปลง

ผู้แต่ง

  • นิธิดา แสงสิงแก้ว คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • นันทิยา ดวงภุมเมศ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

เมืองทั่วถึง, เมือง, การเคลื่อนไหวทางสังคม

บทคัดย่อ

                  บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายงานผลโครงการติดตามและประเมินผล การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนสังคมเท่าทันสื่อ สารสนเทศ และ ดิจิทัล (MIDL)3 ซึ่งได้ติดตามผลการดำเนินงานในปี พ.ศ. 2561 ด้วยการใช้ ข้อมูลปฐมภูมิ ผ่านการสังเกตการณ์และการสัมภาษณ์เชิงลึกของคณะประเมิน ผล และข้อมูลทุติยภูมิ ด้วยการศึกษารายงานผลจากโครงการย่อยและรายงาน ผลการประเมินการดำเนินงานของสถาบันสื่อเด็กและเยาวชนในภาพรวม เฉพาะ ในส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกับ MIDL โดยบทความให้ความสำคัญกับมิติ “พื้นที่” โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตีความเรื่อง “เมือง” ผ่านการสื่อสารภายใต้แนวคิดเมือง ทั่วถึง หรือเมืองที่ไม่ทอดทิ้งกัน (inclusive city) ในฐานะที่เป็นได้ทั้ง “สื่อ” และ “สาร” เพื่อการสร้างการมีส่วนร่วมของเยาวชนและการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง เป็นทางเลือกหนึ่งในการมอง “เมือง” ให้เป็นโอกาสในการสื่อสารที่เปิดโอกาสให้ กลุ่มสังคมย่อยมีโอกาสเข้าถึง ออกแบบ มีส่วนร่วม และใช้ประโยชน์จากพื้นที่ ความเป็นเมืองนั้น

References

กาญจนา แก้วเทพ (2548), “ไตร่ตรองและมองใหม่ เมื่อจะใช้สื่อพื้นบ้านเพื่อการพัฒนา”, ใน สื่อพื้นบ้าน สื่อสารสุข. กรุงเทพฯ: โครงการสื่อพื้นบ้านเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน (สพส.).

จารียา อรรถอนุชิต (2554), “แง่งามของสื่อพื้นบ้าน...คุณค่าที่ยังคงอยู่คู่สังคมภาคใต้”, วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 6(2): 1-26.

จุฑามาศ แก้วพิจิตร (2559), “การศึกษากระบวนการเรียนรู้ในพิพิธภัณฑ์ เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต”, วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์, 8(1): 32-59.

ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์ และพิรุณ อนวัชศิริวงศ์ (2561), MIDL for Kids การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล สำหรับเด็กปฐมวัย, กรุงเทพฯ: สุพีเรียพริ้นติ้งเฮ้าส์.

นันทิยา ดวงภุมเมศ (2561), “พื้นที่สร้างสรรค์” กับการสร้างความเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตยให้เยาวชนไทย ระยะ 2, รายงานการวิจัย สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน.

นันทิยา ดวงภุมเมศ และสิรินทร พิบูลภานุวัธน์ (2562ก), “คุณค่าและศักดิ์ศรีของพลเมืองสูงวัย”, จดหมายข่าว RILCA Newsletter, 38(2): 1.

_________. (2562ข), “‘พื้นที่สร้างสรรค์’ กลไกการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในการสร้างความเป็นพลเมืองให้เยาวชนไทย”, วารสารศาสตร์, 12(2): 87-123.

นิธิดา แสงสิงแก้ว และนันทิยา ดวงภุมเมศ (2562), รายงานผลโครงการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนสังคมเท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล (MIDL), ภายใต้โครงการขับเคลื่อนระบบสื่อสุขภาวะเด็กเยาวชน ของสถาบันสื่อเด็กและ เยาวชน มูลนิธิส่งเสริมสื่อเด็กและเยาวชน (สสย.)

นิษฐา หรุ่นเกษม (2549), การสื่อสารกับปฏิบัติการสร้างภาพตัวแทนผ่านสื่อพิพิธภัณฑสถานในประเทศไทย, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปัณณพร ไพบูลย์วัฒนกิจ และปิยาพัชร เดชบุญ (2562), รายงานผลโครงการติดตามประเมินผลการดำเนินงานสัปดาห์การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล ปี 2561 MIDL for Inclusive Cities: การสร้างเมืองของทุกคน, กรุงเทพฯ: สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน.

พยุรี ชาญณรงค์ (2560), ทฤษฎีการสื่อสารของมนุษย์ (Theories of Human Communication),เอกสารประกอบการสอนวิชา วส.300 ทฤษฎีการสื่อสาร, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

พิชิต ธีอิ่น (2558), “ผลผลิตของสื่อกิจกรรมประเภทค่ายเยาวชนระดับนานาชาติ: บริบทวิเคราะห์เอเชียตะวันออกกับอาเซียน”, วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์, 2(2).

วิลาสินี อดุลยานนท์ (2554), “รู้เท่าทันสื่อ: พลังปัญญาที่จะนำพาสังคมออกจากวิกฤต”, ใน ธาม เชื้อสถาปนศิริ (บ.ก.), รู้ทันสื่อ, กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท ครีเอชั่น.

สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน (ม.ป.ป.), คู่มือจัดการเรียนรู้การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล เพื่อการสร้างพลเมือง, กรุงเทพฯ: สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน.

สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน และเครือข่ายการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองประชาธิปไตย (ม.ป.ป.), กรอบแนวคิดพลเมืองประชาธิปไตย: เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล, กรุงเทพฯ: สถาบัน สื่อเด็กและเยาวชน.

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (2561), Shifting Paradigm of City with Innovation, เอกสารประกอบการสัมมนาในเวที District Summit 2018.

โสภิดา วีรกุลเทวัญ (2562), รายงานโครงการศึกษาและวิเคราะห์การดำเนินงาน โครงการสัปดาห์รู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล ปี 2561 MIDL for Inclusive Cities: การสร้าง เมืองของทุกคน.

Freire, P. (1988), “Cultural Action and Conscientization”, Harvard Education Review, 68(4): 499-521.

Potter, J. (2015), Media Literacy, New Delhi: Sage.

Westheimer, J. and Kahne, J. (2004), “Educating the ‘Good’ Citizen: Political Choices and Pedagogical”, Political Science and Politics, 37(2): 241-247.

Whitzman, C. et al. (2013), Building Inclusive Cities: Women’s Safety and the Right to the City, London: Routledge.

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (2554), “สื่อ”, สืบค้นเมื่อ 18 พฤษภาคม 2562 จาก http://www.royin.go.th/dictionary

สำนักข่าวอิศรา (2562) “นักผังเมืองชูแนวคิดเมืองทั่วถึงอนาคตการพัฒนากรุงเทพ”, สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2562 จาก https://www.isranews.org/isranews-news/42996-public.html

The Matter (2561), “เมื่อกรุงเทพไม่ได้ออกแบบมาเพื่อทุกคน เราก็จงเดินทางด้วยวิถีของเราเอง”, สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2562 จาก https://thematter.co/brandedcontent/bkk-for-no-one/45954.

Celot, P. and Pérez Tornero, J. (2009), “Study on Assessment Criteria for Media Literacy Levels”, Brussels, European Commission--EAVI Consortium, retrieved 15 October 2019 from http://ec.europa.eu/culture/media/media-content/media-literacy/studies/eavi_study_assess_crit_media_lit_levels_europe_nrep.pdf

Gerometta, J. et al. (2005), “Social Innovation and Civil Society in Urban Governance: Strategies for an Inclusive City”, retrieved 16 October 2019 from https://journals.sagepub.com/doi/abs/10.1080/00420980500279851

Hanson, J. (2004), “The Inclusive City: Delivering More Accessible Urban Environment through Inclusive Design”, retrieved 16 October 2019 from https://discovery. ucl.ac.uk/id/eprint/3351/

Investopedia (n.d.), “Interactive Media Definition”, retrieved 15 October 2019 from https://www.investopedia.com/terms/i/interactive-media.asp

Price, M. (2008), “Inclusive City Life: Persons with Disabilities and the Politics of Difference”, Disability Studies Quarterly, 28(1), retrieved 16 October 2019 from http://www.dsq-sds.org/article/view/65/65

UNESCO (2018), “Social and Human Science”, retrieved 11 October 2019 from http://www.unesco.org/new/en/social-and-human-sciences/themes/fight-againstdiscrimination/sv4/news/unesco_presents_on_inclusive_cities_and_leaving_no_one_behin/

เข็มพร วิรุณราพันธ์, ผู้จัดการสถาบันสื่อเด็กและเยาวชน, 3 พฤษภาคม 2561.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

23-01-2020