ข่าวลือ...ไม่จริงแต่ก็ไม่ลวง?: ทบทวนบทบาทข่าวลือในฐานะอาวุธของคนอำนาจน้อย

ผู้แต่ง

  • วิศวัส ปัญญาวงศ์สถาพร อาจารย์ ดร. ประจำภาควิชานวัตกรรมการสื่อสารและพัฒนาการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

คำสำคัญ:

ข่าวลือ, ข่าวลวง, การขับเคลื่อนสังคม

บทคัดย่อ

              การศึกษาหลายชิ้นชี้ให้เห็นความเป็นไปได้ที่การสื่อสารข่าวลือบนแพลต ฟอร์มดิจิทัล อาจเป็นตัวแปรหนึ่งที่ส่งเสริมให้คนชายขอบอำนาจสามารถนำความ เปลี่ยนแปลงมาสู่สังคม อย่างไรก็ตาม หลายคนยังสงสัยต่อข้อสรุปนี้ เพราะเชื่อ ว่าข่าวลือไม่น่าเชื่อถือ และหน่วยงานราชการมีหน้าที่ “กำจัด” มันออกจากระบบ การสื่อสาร
              บทความชิ้นนี้มีจุดประสงค์เพื่อทบทวนบทบาทของข่าวลือ (จริงเท็จ กำกวม หรืออื่นๆ) โดยย้อนกลับไปดูการศึกษาเรื่องข่าวลือในอดีต ทำความเข้าใจ วงจรชีวิตของข่าวลือ และปิดท้ายด้วยนำเสนอกรณีศึกษา “ป้าทุบรถ” เพื่อเปิด การมองข่าวลือใหม่ในฐานะอาวุธของคนอำนาจน้อย

References

กิ่งอ้อ เล่าฮง (2549), การปฏิบัติการข่าวสาร ข่าวลือ และแบบแผนพฤติกรรมฝูงชนวุ่นวาย:กรณีศึกษาเปรียบเทียบเหตุการณ์โจรนินจา และเหตุการณ์จับนาวิกโยธินในภาคใต้ของประเทศไทย, วิทยานิพนธ์ปริญญามานุษยวิทยามหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (2510), บทละครเรื่องรามเกียรติ์, กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.

พิจิตรา สึคาโมโต้ และพีรพล เวทีกูล (2560), ข่าวลือท่ามกลางวิกฤติการณ์การเมืองในสื่อใหม่:กรณีศึกษาทวิตเตอร์ในวิกฤตการณ์การเมืองปี 2557, กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

วศิวสั ปัญญาวงศ์สถาพร (2561), การต่อสู้ของคนอำนาจน้อยผ่านการพดู ปากต่อปากในชวี ติ ประจำวัน: กรณีศึกษาความเดือดร้อนบนท้องถนน, วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชา สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศิวัช ศรีโภคางกุล (2561), “การปฏิวัติดอกมะลิ: บทวิเคราะห์ว่าด้วยการปฏิวัติอันยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21”, วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต,14 (1) กรกฎาคม-ธันวาคม: 1513-1563.

Allport, G. and Postman, L. (1947), The Psychology of Rumor, New York: Holt, Rinehart& Winston.

Caplow, T. (1947), “Rumors in War”, Social Forces, 25: 298-302.

Foster, E. (2004), “Research on Gossip: Taxonomy, Methods, and Future Directions”,Review of General Psychology, 8: 78-99.

Galloway, P. (2004), “Preservation of Digital Objects”, Information, Science and Technology,38: 549-590.

Guha, R. (1999), Elementary Aspects of Peasant Insurgency in Colonial India, Oxford:Oxford University Press.

Harsin, J. (2006), The Rumour Bomb: Theorizing the Convergence of New and Old Trends in Mediated US Politics, 39.

Hill, R. and Bonjean, C. (1964), “News Diffusion: A Test of the Regularity Hypothesis”,Journalism Quarterly, 41: 336-342.

Knapp, R. (1944), “A Psychology of Rumor”, Public Opinion Quarterly, 8: 22-37.

Larsen, O. (1954), “Rumors in a Disaster”, Journal of Communication, 4: 426-433.

Morin, E. (1971), Rumor in Orleans, New York: Pantheon.

Pollard, A. (1915), A Short History of the Great War, Oxford: University of London.

Rosnow, R. and Fine, G. (1976), Rumor and Gossip: The Social Psychology of Hearsay,Elsevier.

Scott, J. (1992), Domination and the Arts of Resistance: Hidden Transcripts, New Haven:Yale University Press.

Shibutani, T. (1966), Improvised News: A Sociological Study of Rumor, Indianapolis:Bobbs-Merrill.

ไทยรัฐออนไลน์ (8 สิงหาคม 2562), “โฆษกรัฐบาล ยัน “บิ๊กตู่” ไม่ถอดใจลาออก ชี้ ยังสั่งการ แผนงานอยู่ตลอด”, สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2562 จาก https://www.thairath.co.th/news/politic/1633386.

ป้าทุบรถสุดทน “รถจอดขวางหน้าบ้าน”. (20 กุมภาพันธ์ 2561). ถามตรงๆ กับจอมขวัญ, ไทยรัฐออนไลน์, สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2562 จาก https://www.youtube.com/watch?v=_ H2C9Cqjcao&t=2111s

มติชนออนไลน์ (26 ตุลาคม 2561), “ตลาดรอบบ้าน “ป้าทุบรถ” ยังไม่รื้อ ผอ.เขตประเวศเผยรอศาลตัดสิน”, สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2562 จาก https://www.matichon.co.th/local/quality-life/news_1196129.

มติชนออนไลน์ (28 ตุลาคม 2562), “ผู้สื่อข่าวสายทหารดัง โพสต์ระบายความในใจปม “ข่าวใหญ่””, สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2562 จาก https://www.matichon.co.th/politics/news_1730796.

สำนักข่าวอิศรา (21 กุมภาพันธ์ 2556), ““อ.ชัยวัฒน์” แนะสื่อรายงานข่าวใต้ ต้องเข้าใจวัฒนธรรม-เสนอทางออก”, สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2562 จาก https://www.isranews.org/isranews-news/19565-south-tpbs.html.

The Momentum (18 พฤศจิกายน 2562), “คุยเรื่องข่าวลือ ข่าวใหญ่ ข่าวใหญ่กว่าที่คิส และข่าวดีกับนักวารสารศาสตร์ ‘พรรษาสิริ กุหลาบ’”, สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2562 จาก https://themomentum.co/interview-phansasiri-kularb.

The Standard (1 พฤศจิกายน 2562), “เปิดตัวศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ติดตามตรวจสอบข้อมูลสื่อออนไลน์ตรวจเช็คข่าวปลอมได้ทันทีใน 2 ชั่วโมง”, สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2562 จาก https://thestandard.co/anti-fake-news-center-2.

BBC (16 December 2011), How the Arab Spring Began, retrieved 16 December 2019 from https://www.bbc.com/news/av/world-middle-east-16212447/how-the-arab-spring-began.

CNN (8 October 2019), Hong Kong Could be at 'Tipping Point' as Warning Flag Unfurled at Chinese Military Barracks, retrieved 16 December 2019 from https://edition.cnn.com/2019/10/07/asia/hong-kong-protests-pla-intl-hnk/index.html.

Fine, G. (2013), “Rumor in Collective Behavior and Social Movements”, retrieved 16 December 2019 from https://onlinelibrary.wiley.com/doi/abs/10.1002/97804 70674871.wbespm485.

Kleefeld, E. (2019), "Hundreds of Thousands Attend Protest in Hong Kong over Extradition Bill", retrieved 10 June 2019 from https://www.vox.com/world/2019/6/9/18658650/hong-kong-protest-march-china-extradition-bill-2019.

Merriam Webster (2015), Rumor, retrieved 16 December 2019 from https://www.merriam-webster.com/dictionary/rumor.

Quackenbush, C. (2019), Student’s Death Plunges Hong Kong into Night of Grief and Fury, retrieved 17 January 2020 from https://www.washingtonpost.com/world/asia-pacific/with-students-death-hong-kong-protests-enter-perilous-new-phase/2019/11/08/08cfe6fe-01d7-11ea-8341-cc3dce52e7de_story.html.

Vennard, M. (2018), Death of Hitler: How the World Found out from the BBC, retrieved 17 January 2020 from https://www.bbc.com/news/world-europe-44131106.

Wickham, C. (1998), “Gossip and Resistance among the Medieval Peasantry: Past &Present, retrieved 16 February 2020 from www.jstor.org/stable/651105.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

01-05-2020