แนวคิดการศึกษาเสียงบรรยายภาพสำหรับสื่อโทรทัศน์

ผู้แต่ง

  • กุลนารี เสือโรจน์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

เสียงบรรยายภาพ, เสียงบรรยายภาพไทย, แนวคิดเชิงการเรียนรู้, ภววิสัย, อัตวิสัย, การออกแบบเสียง, วาทกรรม, โทรทัศน์, บริการเพื่อการเข้าถึงสื่อโทรทัศน์

บทคัดย่อ

                บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของเสียง บรรยายภาพทางโทรทัศน์ เเละสถานการณ์ของเสียงบรรยายภาพในฐานะบริการ เพื่อการเข้าถึงสื่อโทรทัศน์ประเภทหนึ่งในประเทศไทย นอกจากนี้ ยังชี้ให้เห็นถึง 4 เเนวคิดหลักที่เกี่ยวข้องกับเสียงบรรยายภาพทางโทรทัศน์ ซึ่งจะช่วยทำให้ผู้เขียน บทเสียงบรรยายภาพสามารถผลิตสื่อประเภทนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบ ด้วย (1) เเนวคิดเชิงการเรียนรู้ (cognitive approach) 3 กลุ่มย่อย ได้แก่ (ก) the production perspective ที่มุ่งศึกษาผู้ผลิตเสียงบรรยายภาพในฐานะ ของผู้ส่งสาร (ข) the reception perspective มุ่งศึกษากลุ่มผู้รับสาร เช่น กลุ่ม คนพิการทางการเห็น หรือผู้สูงอายุ ในฐานะผู้ใช้งานสื่อเสียงบรรยายภาพ และ (ค) the meeting of minds perspective มุ่งศึกษาการส่งต่อความหมายระหว่าง ผู้ส่งสารและผู้รับสารที่เป็นคนพิการทางการเห็น (2) แนวคิดเรื่องภววิสัยและ อัตวิสัยในงานเสียงบรรยายภาพ ซึ่งเป็นประเด็นถกเถียงสำคัญในการศึกษาเสียง บรรยายภาพ โดยในบทความจะนำเสนอข้อดีเเละข้อจำกัดของทั้งสองรูปเเบบ (3) แนวคิดการออกแบบเสียงสำหรับการผลิตเสียงบรรยายภาพ ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ในการสร้างสมดุลของเสียงจากต้นฉบับเเละเสียงบรรยายภาพที่เสริม เข้าไป (4) แนวคิดวาทกรรมหน้าที่ ได้แก่ วาทกรรมการสนับสนุน (discourse-supporting) วาทกรรมการเติมเต็ม (discourse-filling) และวาทกรรมความขัดแย้ง (discourse-contrasting) จะเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์การเลือกสิ่งที่จะบรรยายในงานเสียงบรรยายภาพ

References

กุลนารี เสือโรจน์ (2558ก), การวิจัยถอดบทเรียนหลักการเขียนบทเสียงบรรยายภาพรายการอาหารทางโทรทัศน์เพื่อคนพิการทางการเห็น, กรุงเทพฯ: คณะวารสารศาสตร์และสื่อสาร มวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

_________. (2558ข), หลักการเขียนบทเสียงบรรยายภาพสำหรับรายการสารคดีทางโทรทัศน์, ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กุลนารี เสือโรจน์ และมนต์ศักดิ์ ชัยวีระเดช (2558), รายงานผลการเก็บข้อมูลจากการสนทนากลุ่มตัวแทนผู้พิการทางการเห็นในรายการโทรทัศน์ที่มีสื่อเสียงบรรยายภาพ (Audio Description),โครงการผลิตสื่อเสียงบรรยายภาพเพื่อการเข้าถึงกลุ่มคนพิการทางการเห็น คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (2559),ประกาศ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการให้เข้าถึงหรือรับรู้และใช้ประโยชน์ จากรายการของกิจการโทรทัศน์.

_________. (2560), ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการให้เข้าถึงหรือรับรู้ และใช้ประโยชน์จากรายการของกิจการโทรทัศน์ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม).

_________. (2561), ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการให้เข้าถึงหรือ รับรู้และใช้ประโยชน์จากรายการของกิจการโทรทัศน์ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม).

_________. (2562), ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการให้เข้าถึงหรือ รับรู้และใช้ประโยชน์จากรายการของกิจการโทรทัศน์ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม).

_________. (2563), ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการให้เข้าถึงหรือรับรู้และใช้ประโยชน์จากรายการของกิจการโทรทัศน์ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม).

ธีร์ธวัช เจนวัชรรักษ์ (2554), การสร้างออดิโอเดสคริปต์ชั่นในภาพยนตร์การ์ตูนเพื่อเด็กพิการทางการมองเห็น, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

_________. (2557), คู่มือการผลิตเสียงบรรยายภาพ, กรุงเทพฯ: สถาบันคนตาบอดแห่งชาติเพื่อการวิจัย และพัฒนา.

ภัทธีรา สารากรบริรักษ์ (2558), เสียงบรรยายภาพที่ผู้พิการทางการเห็นต้องการ (รายงานผลการวิจัย), กรุงเทพฯ: คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศิริมิตร ประพันธ์ธุรกิจ (2559), การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมของคนพิการทางการเห็นในฐานะผู้ผลิตเสียงบรรยายภาพ (รายงานผลการวิจัย), กรุงเทพฯ: คณะวารสารศาสตร์และสื่อสาร มวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อารดา ครุจิต (2558), การศึกษาหลักการในการผลิตเสียงบรรยายภาพในรายการโทรทัศน์สำหรับคนพิการทางการเห็น, กรุงเทพฯ: คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

อารดา ครุจิต และคณะ (2558), หลักการผลิตเสียงบรรยายภาพ, ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Fryer, L. (2016), An Introduction to Audio Description Practical Guide, New York: Routledge.

Greco, G. (2016), “On Accessibility as a Human Right, with an Application to Media Accessibility”, in Matamala, A. and Orero, P. (eds.), Researching Audio Description New Approaches, London: Palagrave Macmillan: 11-33.

Holsanova, J. (2016), “A Cognitive Approach to Audio Description”, in Matamala, A. and Orero, P. (eds.), Researching Audio Description New Approaches, London: Palagrave Macmillan: 49-73.

Jankowska, A. (2015), Translating Audio Description Scripts, translated from the Polish by Mrzyglodzka, A. and Chociej, A., Frankfurt am Main: Peter Lang Edition.

Jankowska, A. and Zabrocka, M. (2016), “How Co-Speech Gestures are Rendered in Audio Description: A Case Study”, in Matamala, A. and Orero, P. (eds.), Researching Audio Description New Approaches, London: Palagrave Macmillan: 169-186.

Kruger, J. (2010), “Audio Narration: Re-Narrativising Film”, Perspectives: Studies in Translation Theory and Practice, 18(03): 231-249.

Mazur, I. (2014), “Gestures and Facial Expressions in Audio Description”, in Maszerowska, A. et al. (eds.), Audio Description New Perspectives Illustrated, Amsterdam/Philadelphia: John Benjamins Publishing: 179-197.

Rai, S. et al. (2010), A Comparative Study of Audio Description Guidelines Prevalent in Different Countries, Londres: RNIB.

Romero-Fresco, P. (2019), Accessible Filmmaking Integrating Translation and Accessibility into the Filmmaking Process, London: Routledge.

กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการ(2562), สถานการณ์คนพิการ 31 มีนาคม 2562, สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2563 จาก http://dep.go.th/Content/View/4232/1

กองบรรณาธิการ thisable.me. (2562), ไทยมีคนพิการ 3.7 ล้าน ไม่ได้จดทะเบียนเกินครึ่ง-เด็กวัยเรียนขาดโอกาสศึกษา, สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2563 จาก https://thisable.me/content/2019/07/546

จิราภรณ์ การะเกตุ (2561), ประเทศไทยกับสังคมผู้สูงอายุ, สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2563 จาก https://il.mahidol.ac.th/th/

พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551 (2551), สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2563 จาก http://library2.parliament.go.th/giventake/content_law/law040351-61.pdf

พิชญา สุรพลชัย (2559), “บทบรรณาธิการ”, Inclusive Society, สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2563 จาก http://www.cusri.chula.ac.th/wp-content/uploads/2016/06/journal-59-01-00. pdf

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (2561), สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2561, สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2563 จาก http://www.thaitgri.org

สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ (2552), อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ, สืบค้นเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2563 จาก http://humanrights.mfa.go.th/upload/pdf/CRPD.pdf

สำนักงานสถิติแห่งชาติ (2561), สำนักงานสถิติฯ เผยผลการมีอุปกรณ์รับชมรายการโทรทัศน์ในครัวเรือน 2561, สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2563 จาก http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/News/2561/25-12-61-1.aspx

Adamou, C. and Knox, S. (2011), “Transforming Television Drama through Dubbing and Subtitling: Sex and the Cities”, Critical Studies in Television, 6(1): 1-21, retrieved 30 December 2019 from http://www.ingentaconnect.com/content/manup/cstv/2011/00000006/00000001/art00002.

Caro, M. (2016), “Testing Audio Narration: The Emotional Impact of Language in Audio Description”, Studies in Translatology, 24(04), retrieved 20 November 2019 from https://doi.org/10.1080/0907676X.2015.1120760.

Fryer, L. (2010), “Audio Description as Audio Drama--A Practitioner’s Point of View:Perspectives”, Studies in Translatology, 18(03), retrieved 25 November 2019 from https://doi.org/10.1080/0907676X.2010.485681.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

14-09-2020