มองท้องถิ่นนิยมผ่านรายการเกมโชว์: กิ๊กดู๋สงครามเพลงเงินล้าน
คำสำคัญ:
รายการเกมโชว์, ท้องถิ่นนิยมบทคัดย่อ
บทความนี้เป็นงานวิจัยด้านวัฒนธรรมศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อยืนยัน มโนทัศน์ความเชื่อของพลังท้องถิ่นนิยมที่ยังคงฝังรากลึกในสังคมไทย การเกิด ปรากฏการณ์ท้องถิ่นนิยมในรายการเกมโชว์ซึ่งเป็นพื้นที่ของสื่อสารมวลชนระดับ ชาติ รายการโทรทัศน์ไม่เพียงแค่มีอิทธิพลในแง่ความบันเทิงสำหรับผู้ชม แต่หลัง ม่านมายาเต็มไปด้วยการสื่อสารของพลังท้องถิ่นที่พยายามแสดงตัวตนให้คนทั่วไป ได้รับรู้ถึงความสามัคคี ความรู้สึกร่วมของความเป็นท้องถิ่น และการรวมพลังเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน
งานวิจัยนี้สามารถพิสูจน์ได้ว่า เมื่อกระแสโลกาภิวัตน์หรือกระแส ชาตินิยมเข้ามา ก็ไม่สามารถดูดกลืนหรือทำให้ความเป็นท้องถิ่นสูญสลายไป แต่ท้องถิ่นได้มีการต่อรองและปรับสภาพไปตามบริบทของสังคมที่เป็นอยู่ และมี ถ่ายโอนพลังไปยังท้องถิ่นได้ทั่วประเทศ การทำงานของชาติและท้องถิ่นที่เปรียบ เสมือนเหรียญทั้งสองด้านวัตถุชนิดเดียวกัน ที่ต่างเสริมพลังและส่องสว่างอย่าง สอดรับกัน เช่นเดียวกับรายการเกมโชว์สื่อบันเทิงอย่างรายการ กิ๊กดู๋สงคราม เพลง ก็ยิ่งทำให้กระแสท้องถิ่นนิยมกลับแสดงพลังขึ้นมาให้เห็นอีกครั้ง
References
กาญจนา แก้วเทพ (2539), สื่อส่องวัฒนธรรม, กรุงเทพฯ: มูลนิธิภูมิปัญญา.
________. (2544), ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา, กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรสโปรดักส์ จำกัด.
________. (2547), การวิเคราะห์สื่อ แนวคิดและเทคนิค, กรุงเทพฯ: ภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
________. (2553), วิชาการยุคใหม่: งานวิจัยชาวบ้านในท้องถิ่นภาคกลาง ตะวันตก ตะวันออก, กรุงเทพฯ: ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
กาญจนา แก้วเทพ และคณะ (2551), การจัดการความรู้เบื้องต้นเรื่องการสื่อสารชุมชน, กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน (2551), สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ การเมืองกับสื่อสารศึกษา, กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
นิธิ เอียวศรีวงศ์ (2536), การศึกษาของชาติกับภูมิปัญญาท้องถิ่น, กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง.
ผาสุก พงษ์ไพจิตร (2557), ภาพรวมความเหลื่อมล้ำกับความขัดแย้งสู่สังคมไทยเสมอหน้า, กรุงเทพฯ: มติชน.
พัฒนา กิตติอาษา (2546), ท้องถิ่นนิยม: การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด, กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2549), ทฤษฎีและพฤติกรรมการสื่อสาร หน่วยที่ 8-15, นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ประกายกาวิล ศรีจินดา (2558), การสื่อสารการตลาดของสถานีโทรทัศน์ดิจิตอลระยะเริ่มต้นในประเทศไทย, รายงานวิจัยได้รับทุนการวิจัยจาก สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา.
ปาริชาติ สถาปิตานนท์ สโรบล (2542), การสื่อสาร: กลไกสำคัญในการก้าวสู่ประชาสังคมในศตวรรษที่ 21, กรุงเทพฯ: สาขาวิชานิเทศศาสตร์พัฒนาการ ภาควิชาการประชาสัมพันธ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เปาโร เฟรโร (2559), การศึกษาของผู้ถูกกดข่ี, แปลโดย ภาคิน นิมมานวรวงศ์ และคณะ, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ปลากระโดด.
รุจิรา สุภาษา (2542), การสร้างสื่อแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาความรู้เรื่องสิ่งแวดล้อมขององค์กรพัฒนาเอกชน, วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ลีลาภรณ์ บัวสาย (2547), พลังท้องถิ่น: บทสังเคราะห์งานวิจัยด้านชุมชน, กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
เสาวลักษณ์ สุขวิรัช (2539), ท้องถิ่นนิยมและภูมิภาคนิยมในสังคมไทย, กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา.
สมสุข หินวิมาน (2548), “ทฤษฎีการสื่อสารกับโลกาภิวัตน์”, ใน ปรัชญานิเทศศาสตร์และทฤษฎีการสื่อสาร, นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุธี พลพงษ์ (2551), “กลยุทธ์การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง”, ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง หน่วยที่ 11-15, นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุบัณฑิต สุวรรณนพ (2551), “กลยุทธ์การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง”, ใน เอกสารการสอน ชุดวิชา การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง หน่วยที่ 11-15, นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช.
อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว (2546), สื่อสันนิวาส, ปทุมธานี: นาครมีเดีย.
Anderson, B. (1983), Imagined Communities: Reflections on the Origin and Spread of Nationalism, London: Verso.
Appadurai, A. (1990), “Disjuncture and Difference in the global culture economy”, in Mike Featherstone (ed.), Global Culture: Nationalism, Globalization, and Modernity, London: Sage.
Gibson, C. (1991), A Concept Analysis of Empowerment, Aspen Publication.
Gillespie, M. (2003), Television, Ethnicity and Cultural Change, London: Sage.
Hall, S. (1992), “The Question of Culture Identity”, in Stuart Hall et al. (eds.), Modernity and Its Futures, Cambridge: Polity Press.
Morley, D. (1992), Television, Audiences and Cultural Studies, London: Routledge.
Mitchell, L. (2015), Luk Thung: The Culture and Politics of Thailand’s Most Popular Music, Chiang Mai: Silkworm Books.
M. Napoli, P. (2007), Media Diversity and Localism: Meaning and Metrics, London:Routledge.
Metykova, M. (2016), Diversity and The Media, London: Palgrave.
Weber, M. (1946), From Max Weber: Essay in Sociology, New York: Oxford University Press.
Williams R. (1974), Television: Technology and Cultural Form, London: Fontana.
กิ๊ก-ดู๋เปิดสงครามดวลเพลงชิงเงินรางวัลกว่า 2,500,000 บาท (2554), สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2558 จาก http://www.ryt9.com/s/bmnd/1095968
ประกายกาวิล ศรีจินดา (2558), “การสื่อสารการตลาดของสถานีโทรทัศน์ดิจิตอลระยะเริ่มต้นในประเทศไทย”, สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2560 จาก http://www.teacher.ssru.ac.th/prakaikavin_sr/file.php/1/_2558.pdf
สยามดารา (2555). “16 ปี ของชุมทางเสียงทองอีกหนึ่งตำนานประกวดร้องเพลงลูกทุ่ง”, สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2555 จาก http://www.siamdara.com/entertain.asp?=2443
Facebook Fanpage: KikDuu กิ๊กดู๋, สืบค้นเมื่อ 2 พฤษภาคม 2560 จาก https://www.facebook.com/kikduu/