แสงกระสือ: ผีเพศ โรค และความเป็นอื่น การเมืองระหว่างเพศและโลกจริง

ผู้แต่ง

  • กำจร หลุยยะพงศ์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

สัญวิทยา , หลังโครงสร้างนิยม, ผี, ผู้หญิง, ความเป็นอื่น

บทคัดย่อ

บทความนี้วิเคราะห์ภาพยนตร์ผีเรื่อง แสงกระสือ (2562) โดยใช้ทฤษฎีสำนักสัญวิทยา เพื่อตีแผ่ให้เห็นความหมายที่แฝงอยู่ในภาพยนตร์เรื่องนี้ ทั้งเรื่องผี เพศ ความเป็นอื่น อย่างไรก็ตาม ภายใต้โครงสร้างดังกล่าวยังมีลักษณะย้อนแย้งตามแนวคิดหลังโครงสร้างนิยม ในขณะที่เนื้อหาหลักมุ่งไปสู่การผลิตซ้ำอุดมการณ์ชายเป็นใหญ่ ผีผู้หญิงคือความเป็นอื่น และความเชื่อที่ตรงข้ามกับวิทยาศาสตร์ แต่ในเวลาเดียวกัน ก็มีความพยามยามโต้แย้งให้เห็นถึงอำนาจ ความงามของอิสตรี การเมืองของความเป็นอื่น และบางครั้งวิทยาศาสตร์อาจมิใช่คำตอบเบ็ดเสร็จเสมอไป ซึ่งแสดงให้เห็นถึงสภาพสังคมไทยที่มีลักษณะซับซ้อนไม่อาจเข้าใจได้โดยง่าย

References

ภาษาไทย

กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน (2551), สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองและสื่อสารศึกษา, กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

กำจร หลุยยะพงศ์ (2556), ภาพยนตร์กับการประกอบสร้างผู้คน ประวัติศาสตร์ และชาติ, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

________. (2559), หนังเล็กๆ กับเด็กน้อยๆ, กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

________. (2563), “การศึกษาภาพยนตร์แนวผู้ชม”, ใน เอกสารการสอนชุดวิชา ทฤษฎีและการวิจารณ์ภาพยนตร์, นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

คริส เบเคอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร (2562), ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย, กรุงเทพฯ: มติชน.

จิรธร สกุลวัฒนะ (2562), “การนำเสนอภาพร่างกายผู้หญิงและนิยามการจ้องมองในภาพยนตร์”, ใน สุรเดช โชติอุดมพันธ์ (บ.ก.), นววิถี: วิธีวิทยาการร่วมสมัยในการศึกษาวรรณกรรม, กรุงเทพฯ: ศยาม.

ชนัญญา ประสาทไทย (2559), “ซอมบี้ไทย สังคมไทย และการเมืองไทย”, วารสารสังคมศาสตร์, 28(2): 105-131.

นพพร ประชากุล (2552ก), ยอกอักษร ย้อนความคิด เล่ม 1, กรุงเทพฯ: ออฟเซท ครีเอชั่น.

________. (2552ข), ยอกอักษร ย้อนความคิด เล่ม 2, กรุงเทพฯ: ออฟเซท ครีเอชั่น.

บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา (2552), โรงงานแห่งความฝัน: สู่การวิจารณ์ภาพยนตร์สำนักบริบท, กรุงเทพฯ: พับลิค บุเคอรี.

ยูวัล โนอาห์ แฮรารี (2562), โฮโมดีอุส ประวัติของวันพรุ่งนี้, กรุงเทพฯ: วิชั่น พรีเพรส.

วิชุดา ปานกลาง (2539), การวิเคราะห์การถ่ายทอดความหมายเรื่องผีในภาพยนตร์ไทยเรื่อง แม่นาคพระโขนง พ.ศ. 2521-2532, วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรเดช โชติอุดมพันธ์ (2559), ทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์ตะวันตกในคริสต์ศตวรรษที่ 20, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล (2562), “ประชาธิปไตยสยามยุทธ: แง่คิดเกี่ยวกับความขัดแย้งและพัฒนาการของระบอบการเมืองในประเทศไทย”, ใน ประจักษ์ ก้องกีรติ (บ.ก.), อดีต ปัจจุบัน และอนาคตประชาธิปไตยไทย, กรุงเทพฯ: ศยาม.

เอนก เหล่าธรรมทัศน์ (2562), “เค้าโครงความคิดพินิจประชาธิปไตยไทย”, ใน ประจักษ์ ก้องกีรติ (บ.ก.), อดีต ปัจจุบัน และอนาคตประชาธิปไตยไทย, กรุงเทพฯ: ศยาม.

ภาษาอังกฤษ

Benyahia, S. and Mortimer, C. (2013), Doing Film Studies, London: Routledge.

Cook, P. (2007), The Cinema Book, London: Cambridge University Press.

Chaudhuri, S. (2006), Feminist Film Theorists, London: Routledge.

Hill, J. and Gibson, P. (2000), Film Studies: Critical Approach, Oxford: Oxford University Press.

Howson, A. (2004), The Body in Society, Cambridge: Polity.

Jancovich, M. (1995), “Screen Theory”, in Hollows, J. and Jancovich, M. (eds.), Approaches to Popular Film, Manchester: Manchester University Press.

สื่อออนไลน์

สิทธิศิริ มงคลศิริ (2562), “สิทธิศิริ มงคลศิริ: ในวันที่แสงกระสือเข้าฉาย และเป็นหนังที่ใครๆ ต่างเชียร์ให้ไปดู”, สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2563 จาก www.adaymagazine.com.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

06-01-2023