ผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจและแนวทางการพัฒนาองค์การภายหลังการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: กรณีศึกษาของธุรกิจในจังหวัดปทุมธานี
คำสำคัญ:
ผลการดำเนินงาน, การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 , ด้านการเงิน , ด้านลูกค้า , ด้านกระบวนการภายใน , ด้านการเรียนรู้และพัฒนาบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่มีต่อผลการดำเนินงาน 2) ความต้องการพัฒนาผลการดำเนินงานภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 3) ความแตกต่างของลักษณะองค์กรที่ส่งผลต่อผลกระทบที่มีต่อผลการดำเนินงานภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 4) ความแตกต่างของลักษณะองค์กรที่ส่งผลต่อความต้องการการพัฒนาผลการดำเนินงานภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 5) ผลกระทบของผลการดำเนินงานที่ส่งผลต่อความต้องการพัฒนาผลการดำเนินงานภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนา 2019 และ 6) เสนอแนวทางการพัฒนาองค์การภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนา 2019 งานวิจัยนี้เป็นการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบการในจังหวัดปทุมธานีจำนวน 314 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างให้ความเห็นว่าการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลต่อผลการดำเนินงานในระดับปานกลาง 2) ความต้องการพัฒนาผลการดำเนินงานภายหลังจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อยู่ในระดับมาก 3) คุณลักษณะองค์กรที่แตกต่างกันด้านประเภทธุรกิจ สถานที่ตั้ง อายุของบริษัท และจำนวนพนักงานส่งผลต่อผลการดำเนินงานในภาพรวมที่แตกต่างกัน 4) คุณลักษณะองค์กรที่แตกต่างกันด้านประเภทธุรกิจ อายุของบริษัท ทุนจดทะเบียน จำนวนพนักงาน และจำนวนลูกค้าส่งผลต่อความต้องการพัฒนาผลการดำเนินงานในภาพรวมที่แตกต่างกัน 5) ผลกระทบของผลการดำเนินงานส่งผลต่อความต้องการพัฒนาผลการดำเนินงานภายหลังจากภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ผู้วิจัยทำการทดสอบสมมติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางการพัฒนาองค์กรภายหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทั้งด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการภายใน และด้านการเรียนรู้และพัฒนา
References
กระทรวงสาธารณสุข. (2565). รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม 2565, จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/situation/situation.pdf.
กรมโรงงานอุตสาหกรรม, กระทรวงอุตสาหกรรม. (2564). รายชื่อโรงงานในจังหวัดปทุมธานี. สืบคนเมื่อ 17 กรกฎาคม 2565, จาก https://www.diw.go.th/dataservice&tabid=1
ธนาคาร กรุงไทย จำกัด (มหาชน). (2563). ประเมินเราเที่ยวด้วยกัน. Research Note, Krungthai Compass. ฉบับวันที่ 20 กรกฎาคม 2563.
ประชาชาติธุรกิจ. (2565). บจ. ไทยฟื้นตัวเท่าช่วงก่อนโควิด กำไรปี’64 เติบโตรวม 9.86 แสนล้าน. สืบค้นเมื่อ 13 กันยายน 2565 จาก https://www.prachachat.net/finance/news-884820
พสุ เดชะรินทร์. (2544). เส้นทางจากกลยุทธ์สู่การปฏิบัติด้วย Balanced Scorecaard และ Key Performance Indicators. กรงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ศศิธร ยุวโกศล และ พัชสิรี ชมพูคำ. (2564). เจเนอเรชั่นกับความคิดเห็นและพฤติกรรมการใช้สื่อในยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม. 9(2), 10-25.
สำนักงานจังหวัดปทุมธานี. (2562). บรรยายสรุปจังหวัดปทุมธานี. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2565 จาก
http://www. pathumthani_news/attach_file/pathum_summary.pdf
สำนักงานผู้ประสานงานสหประชาชาติประจำประเทศไทย. (2563). การประเมินผลกระทบรวมด้านเศรษฐกิจและสังคมจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 13 กันยายน 2565 จาก http://www. UNDP.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ไตรมาสที่ 3/2565. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2565 จาก https://www.nesdc.go.th.
สำนักงานหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง. (2565). ครม.อนุมัติ 4 มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ บรรเทาผลกระทบจากโควิด-19. สืบค้นเมื่อ 13 กันยายน 2565 จาก https://www.pdmo.go.th/pdmomedia/ 2021/Jun.pdf
Achim, M.V., Safta, I.L., Vaidean, V.L., Muresan, G.M., & Borlea, N.S. (2021). The Impact of COVID-19
on Financial Management: Evidence from Romania. Economic Research-Ekonomska Istraživanja. 35(1), 1807–1832.
Ansoff, H.I. (1957). Strategies of Diversification. Harvard Business Review. September-October: 113-124.
Arnold, T.K., Chapman, S., Clive, L.M., & Gatewood, A.K. (2022). Introduction to Materials
Management. (9th Ed). New Jersey: Pearson Education.
Ashton, A. S. (2018). How Human Resources Management Best Practice Influence Employee Satisfaction
and Job Retention in the Thai Hotel Industry. Journal of Human Resources in Hospitality & Tourism. 17(2), 175-199.
Babcicky, P. (2012). Rethinking the Foundations of Sustainability: The Limitations of the Environmental
Sustainability Index. Social Indicators Research. 113, 133-157.
Cano, J.A., Vergara, J.J., & Puerta, F.A. (2017). Design and Implementation of a Balanced Scorecard in
a Colombian Company. Espacios. 38(31), 19-30.
Chabossou, A.F.C., Nonvide, G.M.A., Lokonon, B.O.K., Amegnaglo, C.J., & Akpo, L.G. (2022). COVID-19
and the Performance of Exporting Companies in Benin. The European Journal of Development Research. 34(2), 828–842.
Cho, B., & Saki, Z. (2022). Firm Performance under the COVID-19 Pandemic: The Case of the U.S.
Textile and Apparel Industry. The Journal of the Textile Institute. 113(8), 1637-1647.
Cortez, M.R., & Johnston, W.J. (2020). The Coronavirus Crisis in B2B Settings: Crisis Uniqueness
and Managerial Implications Based on Social Exchange Theory. Industrial Marketing Management. 88(1), 125-135.
Cronbach, L. J. (1951). Coefficient Alpha and the Internal Structure of Tests. Psychometrika. 16(3), 297-
Dudic, Z., Dudic, B., Gregus, M., Novackova, D., & Djakovic, I. (2020). The Innovativeness and Usage
of the Balanced Scorecard Model in SMEs. Sustainability. 12(8), 3221 (22 pages).
Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J., & Anderson, R.E. (2018). Multivariate data analysis. (8th Ed).
Hampshire: Cengage Learning.
Hamouche, S. (2021). Human Resource Management and the COVID-19 Crisis: Implications, Challenges,
Opportunities, and Future Organizational Directions. Journal of Management & Organization. 27(3), 1-16.
Hillton, R., & Platt, D. (2020). Managerial accounting: Creating Value in a Dynamic Business
Environment. (12th Ed). New York: McGraw-Hill Education.
International Labour Organization. (2017). Lean Manufacturing Techniques. Cairo: ILO.
Lievens, F. (2017). Organizational Image/Reputation. In S.Rogelberg & C.L. Reeve (Eds.) The
Encyclopedia of Industrial and Organizational Psychology. (pp.1116-1118) 2nd Ed. Thousand
Oaks, CA: Sage.
Kaplan, R.S. (2012). The Balanced Scorecard: Comments on Balanced Scorecard Commentaries.
Journal of Accounting and Organizational Chang. 8(4), 539–545.
Niven P.R. (2012). Balanced Scorecard Step-by-step : Maximizing Performance and Maintaining
Results. New Jersey : John Wiley & Sons.
O’Riordan, T. (2013). Sustainability for Wellbeing. Environmental Innovation and Societal Transitions.
(1), 24-34.
Pallant, J. (2007). SPSS Survival Manual: A Step-by-step Guide to Data Analysis Using SPSS Version
Nova Iorque: McGraw Hill.
Prabowo, A.H., Farida, F., & Adesta, E.Y. (2022). The Effect of Lean Waste Reduction Technique to Business
Results: a Confirmatory Study. Management and Production Engineering Review. 13(2), 92-101.
Sztorc, M. (2020). Lean Management as a Method for Improving Selected Processes at Hotels. In A.
Ujwary-Gil & M. Gancarczyk (Eds.), New Challenges in Economic Policy, Business, and Management (pp. 223-247). Warsaw: Institute of Economics, Polish Academy of Sciences.
Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. (3rd Ed). New York : Harper and Row Publications.
Vorina, A., Simonič, M., & Vlasova, M. (2017). An Analysis of the Relationship between Job Satisfaction
and Employee Engagement. Economic Themes. 55(2), 243–262.
UNESCO. (2017). Education for Sustainable Development. Retrieved December 15, 2022, from
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ