การประยุกต์ใช้หลักสัมมัปปธาน 4 เพื่อการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชาติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยโดยใช้หลักธรรมทางพุทธศาสนา ผลการศึกษา พบว่า ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมของชาติควรดำเนินการแนวตามหลักสัมมัปธานซึ่งเป็นหลักธรรมในพระพุทธศาสนามาใช้เป็นกรอบดำเนินการ ฉะนั้น ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยควรดำเนินการใน 2 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) ขั้นตอนการสำรวจค้นหาวัฒนธรรมในแต่ละชุมชนหรือพื้นที่ มี 4 ประเภท ประกอบด้วย วัฒนธรรมประเภทใช้ถ้อยคำ วัฒนธรรมประเภทประเพณีพื้นบ้าน วัฒนธรรมประเภทวัฒนธรรมวัตถุ และวัฒนธรรมประเภทศิลปะพื้นบ้าน และ 2) ขั้นการอนุรักษ์วัฒนธรรม ดำเนินการใน 4 ลักษณะ ประกอบด้วย การป้องกันไม่ให้สูญหาย (สังวรปธาน) การปรับปรุงแก้ไข (ปหานปธาน) การพัฒนาให้มีความสอดคล้องกับยุคสมัย (ภาวนาปธาน) และการรักษาให้คงอยู่ (อนุรักขนาปธาน)
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
กระทรวงวัฒนธรรม. (2562). ลักษณะวัฒนธรรมไทย. เข้าถึงได้จาก https://wiki.m-culture.go. th/wikipedia/index.php/ลักษณะวัฒนธรรมไทย.
ณัฐพงษ์ ถือดำ และคณะ. (2550). การจัดระบบพิพิธภัณฑ์สถาน เคหสถานให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ปรมินท์ จารุวร. (2560). การสร้างภาพลักษณ์หมู่บ้านวัฒนธรรมจากคติชนบนเวทีการท่องเที่ยวที่บ้านหนองขาว ในประเพณีสร้างสรรค์ในสังคมไทยร่วมสมัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: หจก. ภาพพิมพ์ จำกัด.
ปวีณ์กร คลังข้อง. (2556). วัฒนธรรมวิจัยของครูในจังหวัดปัตตานี. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์.
พระครูวัชรสุวรรณาทร (ลูกชุบ ธมฺมโชโต). (2547). การประยุกต์ใช้อิทธิบาทธรรมเพื่อส่งเสริมกลยุทธ์การอนุรักษ์โบราณสถานของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 15. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิยาลัย.
พระคันธสาราภิวังค์. (2549). โพธิยปักขิยธรรม. กรุงเทพฯ: บริษัท บุญศิริการพิมพ์ จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์, (2559). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 28). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ผลิธัมม์.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580. (2561, 13 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 135 ตอนที่ 82 ก, หน้า 20.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. (2560, 6 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134 ตอนที่ 40 ก, หน้า 12.
ราชบัณฑิตสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2554). การทำนุบำรุงศาสนสถานและโบราณสถาน: อำนาจและวิธีการ. (รายงานการวิจัย). ศูนย์พุทธศาสน์ศึกษา: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2550). นวโกวาท (ฉบับประชาชน). (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สัญชัย อินสิน. (2555). วัฒนธรรมไทยและประเพณีไทย. เข้าถึงได้จาก https://sites.google. com/site/sinchai2125/d13-1
อมรรัตน์ เทพกำปนาท. (2564). ความหมาย แนวคิดและประเด็นที่เกี่ยวกับ “วัฒนธรรม”. เข้าถึงได้จาก http://www.culture.go.th/study/2548/5/16.html 08/06/2008.