กลยุทธ์ทางการตลาดในมุมมองของผู้บริโภคที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อและความจงรักภักดีต่อแบรนด์ ผลิตภัณฑ์ชุมชนกลุ่มทอผ้า

Main Article Content

สิริมาส หมื่นสาย
ปรัชญา ชุ่มนาเสียว
กฤษณะ ดาราเรือง

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์กลยุทธ์ทางการตลาดในมุมมองของผู้บริโภคกับพฤติกรรมการซื้อและความจงรักภักดีต่อแบรนด์ และ 2) วิเคราะห์ปัจจัยกลยุทธ์ทางการตลาดในมุมมองของผู้บริโภคที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อและความจงรักภักดีต่อแบรนด์ผลิตภัณฑ์ชุมชนกลุ่มทอผ้า กรณีศึกษากลุ่มแพวทอผ้าฝ้าย อำเภอปัว และชุมชนกลุ่มทอผ้าบ้านหล่ายทุ่ง อำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชาชนผู้เลือกซื้อสินค้าจำนวน 400 คน วิเคราะห์วิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ถดถอยพหุคูณแบบสเต็ปไวซ์ โดยการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเพื่อให้ทราบถึงความสัมพันธ์ที่ชัดเจน ผลการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยกลยุทธ์ทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์ระดับสูง ได้แก่ ด้านคุณค่าที่ลูกค้าจะได้รับ ด้านการติดต่อสื่อสาร ด้านความสำเร็จในการตอบสนองความต้องการตามลำดับ และ 2) ปัจจัยกลยุทธ์ทางการตลาด 6 ด้าน ประกอบด้วย 2.1) คุณค่าที่ลูกค้าจะได้รับ 2.2) การดูแลเอาใจใส่ 2.3) ความสำเร็จในการตอบสนองความต้องการ 2.4) ความสะดวก 2.5) การติดต่อสื่อสาร และ 2.6) ความสะดวกสบาย สามารถอธิบายตัวแปรตามคือพฤติกรรมการซื้อและความจงรักภักดีต่อแบรนด์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

How to Cite
หมื่นสาย ส., ชุ่มนาเสียว ป. ., & ดาราเรือง ก. . (2021). กลยุทธ์ทางการตลาดในมุมมองของผู้บริโภคที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อและความจงรักภักดีต่อแบรนด์ ผลิตภัณฑ์ชุมชนกลุ่มทอผ้า. วารสารวิจยวิชาการ, 5(1), 101–112. https://doi.org/10.14456/jra.2022.9
บท
บทความวิจัย

References

รัชดา เชิดบุญเมือง, จิรวุฒิ หลอมประโคน และวิสุทธ์ กล้าหาญ (2557). ปัจจัยการตลาด และพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(พิเศษ), 76-88.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2554). SME พร้อมปรับกลยุทธ์รับเทรนด์ธุรกิจร้านอาหารครึ่งปีหลัง. เข้าถึงได้จาก https://www.kasikornbank.com/th/business/sme/.../article/.../SMELoca lRestaurant.pdf

อำพล นววงศ์เสถียร. (2557). พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริโภคในร้านค้าออนไลน์ในกรุงเทพ มหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(2), 134-149.

เอกวิทย์ สุวรรณวงศ์. (2555). แนวโน้มการใช้งานอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง. (การศึกษาตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตการบริหารงานก่อสร้างและสาธารณูปโภค สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์). บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.

Aaker, D. A. (1991). Managing brand equity. San Francisco: Free Press.

Gomez, Arranz & Cillan (2006). Brand Loyalty, Attitudinal Loyalty, Behavioral Loyalty. Journal of Business, Economics and Communications, 8(1), 67-73.

Jacoby, J. and Chestnut, R. (1978). Brand Loyalty: Measurement and Management. New York: Wiley.

Johnson, M. D., Anders, G., Tor W. A., Line, L. and Jaesung, C. (2001). The evolution and future of national customer satisfaction index models. Journal of Economic Psychology, 22(2), 217–245.

Kim, J., Morris, J. D., & Swait, J. (2008). Antecedents of true brand loyalty. Journal of Advertising, 37(2), 99-117.

Rosalind, J. and Jennifer, R. (2011). Entrepreneurial marketing in small businesses: A conceptual exploration. International Small Business Journal, 29(1), 25-36.

Schiffman, Leon G. and Kanuk, Leslie L. (1994). Consumer Behavior. (5th ed). Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall.