บทวิจารณ์หนังสือ: ตามทางพุทธกิจ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทวิจารณ์หนังสือ “ตามทางพุทธกิจ” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสำคัญในเชิงประวัติศาสตร์พุทธศาสนา 2) ศึกษาการสอดแทรกธรรมกถาที่พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ได้แสดง ณ พุทธสังเวชนียสถาน ในหนังสือเล่มนี้เมื่อครั้งท่านได้เดินทางจาริกนมัสการสังเวชนียสถานในที่ประเทศอินเดียซึ่งได้แบ่งเนื้อหาของหนังสือออกเป็น 8 ตอนด้วยกัน ได้แก่ 1) ใต้ร่มโพธิ์ตรัสรู้ 2) บนยอดเขาคิชฌกูฏ 3) ปฐมเทศนาที่สานาถ ธรรมกถาว่าด้วยปฐมเทศนา 4) กุสินารา ที่ปรินิพพาน 5) รูปกายดับสูญ ธรรมกายไม่สิ้น 6) หัวใจพระพุทธศาสนา 7) บทเรียนจากอดีต 8) อินเดียแดนเทวดาอีกทั้งยังให้ข้อคิดธรรมมะที่สำคัญในการนำมาปฏิบัติได้ในชีวิตประจำวันอีกมากมาย เพื่อช่วยให้ผู้ที่สนใจศาสนาเข้าใจหลักธรรมของสาสนาที่พระศาสดา คือ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระสมณโคดมได้แสดงไว้ในที่ต่าง ๆ ของสังเวชนียสถานในประเทศอินเดีย เริ่มจากพุทธคยา สถานที่ตรัสรู้ จนถึงสถานที่สำคัญต่าง ๆ ในประเทศอินเดีย ทำให้เราได้ทราบความสำคัญในเชิงประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในอินเดียและการสอดแทรกธรรมกถาของพระพรมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2540). บ่อเกิดลัทธิประเพณีอินเดีย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ อรุณการพิมพ์.
เชษฐ์ ติงสัญชลี. (2556). สังเวชนียสถานและสถานที่สำคัญทางพุทธประวัติในอินเดีย-เนปาล.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มิวเซียมเพรส.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2556). ตามทางพุทธกิจ. (พิมพ์ครั้งที่8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ผลิธัมม์ฯ