บทวิจารณ์หนังสือ พาราณสี คือ อินเดียแท้
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทวิจารณ์หนังสือเรื่อง “พาราณสี คือ อินเดียแท้” นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการอธิบายเรื่องราวของเมืองพาราณสี ที่อยู่ในประเทศอินเดีย เพื่อให้ทราบถึงความเป็นมา ความศรัทธา ประเพณีและพิธีกรรมของชาวฮินดู ทำให้เกิดความเลื่อมใสและศรัทธาของเหล่า
ศาสนิกชนจึงได้มาสักการะเพื่อระลึกถึงพระพุทธองค์ที่สังเวชนียสถานทั้ง 4 แห่ง คือ สถานที่ประสูติ สถานที่ตรัสรู้ สถานที่แสดงปฐมเทศนา สถานที่ปรินิพพาน เป็นศูนย์กลางของนักศาสนาและปรัชญาต่างมาศึกษาที่มหาวิทยาลัยกาศีฮินดู หรือมหาวิทยาลัยบาณารัสฮินดู เมืองพาราณสีเป็นสถานที่ทรงประกาศพระธรรมจักรแสดงพระปฐมเทศนาชื่อ “ธัมจักกัปปวัตตนสูตร” และทรงได้แสดงพระธรรมเทศนาชื่อ“อนันนลักขณสูตร” ทำให้พระปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 หลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง เป็นการตรัสรู้ของสาวกเกิดขึ้นที่ “สารนาถ” จึงทำให้มีความสำคัญและเป็นที่กล่าวขานไปทุกมุมโลกทำให้นักแสวงบุญทั่วสารทิศอยากมาเที่ยวชมเมือง “พาราณสี” เพราะเชื่อว่าหากใครได้มาเที่ยวชมเมืองพาราณสีแล้วก็ขึ้นชื่อว่าได้มาถึง “อินเดีย”
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
เกษม วัฒนชัย. (2549). การเรียนรู้ที่แท้และพอเพียง. กรุงเทพฯ: บริษัทมติชน จำกัด (มหาชน).
ประเวศ วะสี. (2549). พระเจ้าอยู่หัวกับรหัสพัฒนาใหม่. กรุงเทพฯ: ชมรมผู้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดล
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พัฒนาการแบบองค์รวมของเด็กไทย. กรุงเทพฯ: ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม.
พระมหาประมวล ฐานทตฺโต. (2548). พาราณสี คือ อินเดียแท้. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์ร่มธรรม จำกัด.
สุเมธ ตันติเวชกุล. (2549). ข้าแผ่นดินสอนลูก. กรุงเทพฯ: มติชน.