รัฐประศาสนศาสตร์ข้ามชาติในยุคดิจิทัล
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ข้ามชาติที่มีอิทธิพลต่อการบริหารกิจการภาครัฐของประเทศไทย โดยวิเคราะห์เนื้อหาข้อมูลที่ได้จากเอกสาร พบว่า การบริหารกิจการภาครัฐมิได้ดำเนินการบนผืนแผ่นดินไทยเท่านั้น ยังมีการติดต่อสัมพันธ์กับประเทศต่าง ๆ ทั้งในทางการค้า การลงทุน วิทยาการและความร่วมมือทั้งในระดับทวิภาคีและพหุภาคี รวมทั้งการดูแลผลประโยชน์ของประเทศไทยในต่างแดน และเทคโนโลยีดิจิทัลได้สร้างโอกาสในการกระจายอำนาจบริหารกิจการภาครัฐเป็นจริงมากขึ้น การรับเอาอิทธิพลแนวคิดทุนนิยมเสรี กลไกลตลาด ธรรมาภิบาลโลก วิทยาการ เทคโนโลยี แนวคิดและทฤษฎีการบริหารด้วยวิธีการศึกษาในเชิงเปรียบเทียบกับประเทศที่ประสบผลสำเร็จในการบริหารประเทศ เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ประเทศไทยปรับใช้แนวคิด ทฤษฎี วิทยาการและเทคโนโลยีอันจะทำให้การบริหารกิจการภาครัฐมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป การจะดำเนินการได้ รัฐบาล นักรัฐประศาสนศาสตร์ พนักงานรัฐ ที่ปรึกษานโยบายการบริหารประเทศ ควรปรับกระบวนทัศน์และดำเนินการ ดังนี้ 1) ปรับระบบราชการให้มีอิสระในการบริหารและการปฏิบัติ 2) ยึดหลักธรรมาภิบาลโลกเป็นฐานการพัฒนาการบริหารกิจการภาครัฐให้เป็นจริงทั้งแนวคิดและการปฏิบัติ และ 3) ด้านวิชาการ หลักสูตรการสอนรัฐประศาสนศาสตร์ในสถาบันการศึกษาและที่ปฏิบัติอยู่ในหน่วยงานรัฐควรบูรณาการกำลังทรัพยากรและบุคลากรในการสอนและฝึกอบรมผู้ที่เตรียมตัวเข้าสู่ระบบราชการ อีกด้านหนึ่งควรเพิ่มเติมขอบข่ายหลักสูตรให้มีการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบกับรัฐประศาสนศาสตร์ของประเทศที่ประสบผลสำเร็จในการพัฒนาประเทศ เพื่อให้ผู้ที่เตรียมตัวเป็นพนักงานรัฐตระหนักรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและมีศักยภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรสาธารณะและดูแลผลประโยชน์ของประเทศไทย
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
เทียนไชย จงพีร์เพียร. (2564). ประวัตินโยบายการแปรรูปรัฐวิสาหกิจและการเปิดเสรีด้านพลังงาน. เข้าถึงได้จาก http://www.eppo.go.th/images/about/historyEppo-4.pdf
จิตตรา ศรีสงกราน. (2564). WHO คืออะไร?. เข้าถึงได้จาก https://www. safesiri. com/who/
วิน อุดมรัชตวนิชย์. (2564). อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจไทยมาจากไหน?. เข้าถึงได้จาก https://forbesthailand. com/commentaries/insights/อัตราการขยายตัวทางเศรษ.html
Bauer, M.W. and Ege, J. (2012). Policization within the European Commission’s bureaucracy. International Review of Administrative Sciences, 78(3), 425-446.
Biermannn, F. and Bernd, S. (2009). Managers of Global Change: The Influence of International Environmental. Cambridge, MA: The MIT Press.
Camporesi, A. (1989). Strategia sì, ma non troppo. Guidare l'azienda tra metodo e intuito. Italy: Franco Angeli.
Caughey, D. et al. (2009). Defining, measuring, and modeling bureaucratic autonomy. Retrieved from https://www.semanticscholar.org/paper/Defining%2C-Measuring%2C-and-Modeling-Bureaucratic-Caughey-Cohon/d9d1a2b04642d10e9c4daf86ef8d074e3242a6ec
Deming, W. E. (1993). The New Economics for Industry, Government, and Education. Cambridge: Massachusetts Institute of Technology Center for Advanced Engineering Study.
Easton, D. (1965). A Framework for Political Analysis. New Jersey: Prentice-Hall.
French, W. L and Cecill, H. B. (1990). Organizational Development: Behavioral Science Interventions for Organization Improvement. (4thed.). Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall.
Henry, N. (2010). Public Administration and Public Affairs. (11th ed.). New York: Longman Simon.
Kaplan, R. S. and Norton, D.P. (1996). The Balanced Scorecard: Translating Strategy to Action. Boston: Harvard Business School Press.
Kinichi A. & Kreitner. R. (2003). Organizational Behavior. Boston Burt Ridge, IL: McGraw Hill Irwin.
Mayo, E. (1933). The Human Problem of an Industrial Civilization. New York: Macmillan Co.
Perry, J.L. (1991). Strategies for building Public Administration Theory. Research in public administration, 1, 1-18.
Porter, M.E. (1995). On Competition. Boston: Harvard Business Review Book.
Shafritz, Jay M. & Hyde, Albert C. (2007). Classics of Public Administration. Wadsworth: Cengage Learning.
Simonet, D. (2011). The New Public Management Theory and the Reform of European Health Care Systems: An International Comparative Perspective. International Journal of Public Administration, 34(12), 815-826.
Taylor, F. W. (1911). The Principles of Scientific Management. New York: Harper & Brothers.
United Nations. (2021). What is Good Governance?. Retrieved from https:/ /www. unescap.org/sites/default/files/good-governance.pdf
Verhoest, K., et al. (2004). The Study of Organizational Autonomy: A Conceptual Review. Public Administration and Development, 24(2), 101-118.
Williamson, T., & Long, A. F. (2005). Qualitative data analysis using data display. Nurse Researcher, 12(3):7-19.