กระบวนทัศน์ใหม่กับการจัดการท้องถิ่นของประเทศไทย

Main Article Content

ภาราดร แก้วบุตรดี
ศศิกิจจ์ อ่ำจุ้ย
สมบัติ นวลระออง
อาณัติ เดชจิตร

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ต้องการพัฒนาการบริหารจัดการท้องถิ่นในปัจจุบันนี้ ที่ได้รับผลจากแนวคิดดังกล่าว ทำให้เริ่มมีการนำ แนวทางการบริหารจัดการแบบใหม่มาใช้ โดยที่ไม่ยึดโยงอยู่กับระบบราชการมากจนเกินไป พยายามลดข้อจำกัดในเรื่องพรมแคน เน้นการสร้างความร่วมมือ การเป็นหุ้นส่วน พันธมิตร และ ความสัมพันธ์เชิงเครือข่ายกับหน่วยงานที่จะมีพันธกิจร่วมกัน กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ องค์กรปกครอง ท้องถิ่นไทยเริ่มมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนบทบาทของตนเองจากการที่เคยเป็นผู้จัดทำบริการ สาธารณะด้วยตนเอง มาเป็นผู้จัดหา หรือ ผู้จัดซื้อการบริการดังกล่าวให้แก่ประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง

Article Details

How to Cite
แก้วบุตรดี ด., อ่ำจุ้ย ศ. ., นวลระออง ส. ., & เดชจิตร อ. . (2022). กระบวนทัศน์ใหม่กับการจัดการท้องถิ่นของประเทศไทย . วารสารวิจยวิชาการ, 5(3), 303–310. https://doi.org/10.14456/jra.2022.77
บท
บทความวิชาการ

References

จักรินทร์ ภูเขียวและคณะ. (2563). การจัดการตนเองของชุมชนและท้องถิ่นในภาวการณ์เปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 5(3), 212-223.

จุมพล หนิมพานิช. (2548). บริหารจัดการภาครัฐใหม่: หลักการ การแนวคิด และกรณีตัวอย่างของไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พิสิษฐ์ จอมบุญเรือง. (2552). แนวโน้มของการปกครองท้องถิ่นในกระบวนทัศน์ใหม่. วารสารรัฐประศาสนศาสตร์, 6(1), 93-117.

อุดม ทุมโฆสิต. (2551). การปกครองท้องถิ่นสมัยใหม่: บทเรียนจากประเทศที่พัฒนาแล้ว. กรุงเทพฯ: แซท โฟร์ พริ้น ติ้ง.

Wilson, D. and Game, C. (2002). Local Government in the United Kingdom, Parliamentary Affairs, 56(2), 378-379.