บทวิจารณ์หนังสือเรื่อง พิธีกรรมและความเชื่อท้องถิ่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทวิจารณ์หนังสือ “พิธีกรรมและความเชื่อท้องถิ่น” พบว่า ได้ศึกษาค้นคว้าพิธีกรรมและความเชื่อท้องถิ่นโดยแบ่งเนื้อหาเป็น 4 ภาคด้วยกันคือ 1) พิธีกรรมและความเชื่อของภาคเหนือ 2) พิธีกรรมและความเชื่อของภาคกลาง 3) พิธีกรรมและความเชื่อของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ 4) พิธีกรรมและความเชื่อของภาคใต้ ซึ่งพิธีกรรมในท้องถิ่นเป็นกิจกรรมทางสังคมโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนที่เป็นมาด้วยดีด้วยความผูกพันและสามัคคีโดยมีพระพุทธศาสนาเป็นสื่อกลางหรือมีหัวหน้าหมู่บ้านเป็นตัวเชื่อมเป็นความเชื่อว่าถ้าปฏิบัติตามแล้วจะเกิดความร่มเย็นเป็นสุขแก่ครอบครับและชุมชนในทางตรงกันข้ามหากไม่มีการจัดพิธีกรรมในท้องถิ่นบางพิธีการอาจถูกลงโทษให้ครอบครัวเดือดร้อนไม่มีความสงบสุขก็เป็นได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
ฐาปนี. (2549). พิธีกรรมและความเชื่อท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: แสงดาว.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (พิมพ์ครั้งที่ 20). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริษัทสหธรรมิก จำกัด.
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2546). ประเพณี 12 เดือน: พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปรายงานวิจัย. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
สงวน โชติสุขรัตน์. (2553). ประเพณีไทยภาคเหนือ. นนทบุรี: สำนักพิมพ์ศรีปัญญา.