คนทำงานในระบบอาหารกับความเหลื่อมล้ำในยุคโควิด-19
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ทราบสถานการณ์และสภาพการทำงานของคนทำงานในระบบอาหารในช่วงปิดเมือง และ 2) ศึกษาผลกระทบในมิติความเหลื่อมล้ำของโควิดต่อคนทำงานในระบบอาหารในเมืองและแนวทางการรับมือกับผลกระทบ งานนี้ใช้การวิจัยเชิงปริมาณผ่านการสำรวจข้อมูลด้วยแบบสอบถามโดยใช้การคำนวนกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอนของคอแครน ได้กลุ่มตัวอย่างคนทำงานในระบบอาหารจำนวน 439 คน เฉพาะพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑล โดยเลือกเฉพาะคนทำงานในระบบอาหารในกระบวนการกระจายอาหาร บริการค้าปลีก และขนส่ง และใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ ผลการวิจัย พบว่า 1) ลักษณะของคนทำงานในระบบอาหารถือเป็นคนทำงานรายได้น้อยและเสี่ยงต่อความยากจน และ 2) ผลกระทบในมิติความเหลื่อมล้ำจากโควิด-19 คือ คนทำงานในระบบอาหารเขตเมืองประสบกับความเหลื่อมล้ำทั้ง 3 ประเภท ได้แก่ ความเหลื่อมล้ำที่เกี่ยวพันกับความเป็นความตายในชีวิต ความเหลื่อมล้ำในการดำรงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี และความเหลื่อมล้ำด้านทรัพยากร แนวทางรับมือผลกระทบ คือ มาตรการที่จัดการกับกลไกที่ก่อให้เกิดความเหลื่อมล้ำเหล่านั้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิจยวิชาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจยวิชาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิจยวิชาการก่อนเท่านั้น
References
กาณติมา พงษ์นัยรัตน์. (2564). ผลกระทบของแรงงานนอกระบบจากการเข้าไม่ถึงสวัสดิการภาครัฐในช่วงสถานการณ์โควิด-19: กรณีศึกษาเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. วารสารรัฐศาสตร์รอบรู้และสหวิทยาการ, 4(3), 27–44.
ภาสกร ญี่นาง. (2564). วิกฤตสิทธิแรงงานในเศรษฐกิจยุคดิจิทัล: ปัญหาความขัดแย้งระหว่าง “ไรเดอร์” กับแพลตฟอร์มที่รัฐเพิกเฉย. CMU Journal of Law and Social Sciences, 14(1), 84–113.
มณฑลี กปิลกาญจน์ และพรชนก เทพขาม. (2564). มาตรการแรงงานที่เหมาะสม ยืดหยุ่น และพร้อมรับการอยู่ร่วมกับโควิด-19. Retrieved from https://www.bot.or.th:443/ Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_27Sep2021.aspx
วัชชิรานนท์ ทองเทพ และภานุมาศ สงวนวงษ์. (2563). ลงทะเบียนเยียวยา: วิเคราะห์สารพันปัญหาเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากโควิด-19. BBC News ไทย. เข้าถึงได้จาก https:// www.bbc.com/thai/thailand-52350798
สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม. (2563). การรวมกลุ่มของไรเดอร์ส่งอาหาร-การต่อรองกับแพลตฟอร์มข้ามชาติยักษ์ใหญ่. Retrieved from https://decode.plus/20200909/
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). รายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน เป็นรายภาค และจังหวัด พ.ศ. 2545-2562. Retrieved from http://statbbi.nso.go.th/ staticreport/page /sector/th/08.aspx
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2565). สรุปผลที่สำคัญสำรวจภาวะการทำงานของประชากรไตรมาสที่ 4 พ.ศ.2565. Retrieved from http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/ด้านสังคม/สาขาแรงงาน/ภาวะการทำงานของประชากร/2565/summary_q4_65.pdf/ 2565/summary_q4_65.pdf
Brown, P. (2013). Education, opportunity and the prospects for Social mobility. British Journal of Sociology of Education, 34(5-6), 678-700.
Cho, S. J., Lee, J. Y., & Winters, J. V. (2020). COVID-19 Employment Status Impacts on Food Sector Workers. Retrieved from https://docs.iza.org/dp13334.pdf
Chopra, D., & Krishnan, M. (2022). COVID-19 and the unpaid care economy in Asia and the Pacific [Documentos de Proyectos]. Naciones Unidas Comisión Económica para América Latina y el Caribe (CEPAL). Retrieved from Naciones Unidas Comisión Económica para América Latina y el Caribe (CEPAL)
Clark, K., & Kanellopoulos, N. C. (2013). Low pay persistence in Europe. Labour Economics, 23, 122–134.
Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. (3rd Edition). New York : John Wiley & Sons.
Ericksen, P. J. (2008). Conceptualizing food systems for global environmental change research. Global Environmental Change, 18(1), 234–245.
Forsythe, E., Kahn, L. B., Lange, F., & Wiczer, D. (2020). Labor demand in the time of COVID-19: Evidence from vacancy postings and UI claims. Journal of Public Economics, 189, 104238.
Goddard, E. (2021). The impact of COVID‐19 on food retail and food service in Canada: A second assessment. Canadian Journal of Agricultural Economics/Revue Canadienne d’agroeconomie, 69(2), 167–175.
Ilieva, R. (2022, November 8). New Report: NY Food 2025 / Describing the Experiences of NYC Food Workers During COVID-19 and Beyond: A Mixed Methods Study. Retrieved from CUFPI website: https://cunyurbanfoodpolicy.org /news/2022/11/08/new-report-ny-food-2025-describing-the-experiences-of-nyc-food-workers-during-covid-19-and-beyond-a-mixed-methods-study/
ILO. (2020). COVID-19 and the world of work: Impact and policy responses. Retrieved from https://www.oitcinterfor.org/sites/default/files/file_publicacion/ 5th_ monitor.pdf
Mcknight, A., Stewart, K., Himmelweit, S., & Palillo, M. (2016). Evidence Review Low pay and in-work poverty: Preventative measures and preventative approaches. Luxembourg : Publications Office of the European Union.
Mekonnen, E. E. & Kassegn, A. A. (2022). Food insecurity and unemployment crisis under COVID-19: Evidence from sub-Saharan Africa. Cogent Social Sciences, 8(1), 2045721.
Nguyen, H. (2018). Sustainable food systems: Concept and framework. FAO. Retrieved from https://www.fao.org/3/ca2079en/CA2079EN.pdf
Oxford Policy Management, & United Nations. (2020). Social impact assessment of COVID-19 in Thailand. Retrieved from https://www.unicef.org/thailand /reports/social-impact-assessment-covid-19-thailand
Schnabel, C. (2016). Low-wage employment. IZA World of Labor. Retrieved from https://wol.iza.org/articles/low-wage-employment/long
Seedat, S., & Rondon, M. (2021). Women’s wellbeing and the burden of unpaid work. BMJ, 374, n1972.
Tacoli, C., & Vorley, B. (2015). Reframing the debate on urbanisation, rural transformation and Food security. IIED Briefing. Retrieved from https:// iied.org/17281iied
Therborn, G. (2012). The Killing Fields of Inequality. International Journal of Health Services, 42(4), 579–589.
WHO. (2020, March 12). WHO announces COVID-19 outbreak a pandemic. Retrieved from http://www.euro.who.int/en/health-topics/health-emergencies/ coro navirus-covid-19/news/news/2020/3/who-announces-covid-19-outbreak-a-pandemic
Wolfson, J. A., Leung, C. W., & Kullgren, J. T. (2020). Food as a Critical Social Determinant of Health Among Older Adults During the Coronavirus Disease 2019 (COVID-19) Pandemic. JAMA Health Forum, 1(7), e200925.