สมรรถนะกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในยุคการเปลี่ยนแปลง

Main Article Content

ทศพร พีสะระ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในยุคการเปลี่ยนแปลง และนำเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับสมรรถนะในการปฏิบัติงานที่มีความจำเป็นในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลง แนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่สอดคล้องกับสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และแนวทางที่หน่วยงานหรือองค์การในปัจจุบันต้องปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จากสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ รูปแบบการเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงาน และปัจจัยด้านอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อสมรรถนะกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งอาศัยข้อมูลจากเอกสารการสอน ตำราทางด้านสมรรถนะ ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีการบูรณาการข้อมูลความรู้ทั้งทฤษฎี และปฏิบัติ ตลอดจนประสบการณ์ สรุปเป็นแนวทางที่จะนำเสนอหน่วยงานหรือองค์การสำหรับส่งเสริมให้พนักงานสามารถปฏิบัติงานภายใต้สภาวะการณ์ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซึ่งประกอบด้วยหัวข้อสำคัญ 2 หัวข้อด้วยกัน คือ สมรรถนะที่พึงประสงค์ในปัจจุบัน และแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลง เพื่อการนำไปปฏิบัติให้เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพและศักยภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในทุกสาขาอาชีพ ส่งผลต่อการพัฒนาองค์การต่อไป ผลการศึกษา พบว่า แนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในยุคการเปลี่ยนแปลงฉับพลันทางดิจิทัล ประกอบด้วย (1) องค์กรจะต้องกำหนดนโยบายและวิสัยทัศน์ให้ชัดเจน (2) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยยึดหลักการ ประสิทธิผล ประสิทธิภาพ เปี่ยมคุณค่า และยืดหยุ่นคล่องตัว รวมถึงปรับวิธีการทำงานของบุคลากรให้สอดคล้องกับยุคการเปลี่ยนฉับพลันทางดิจิทัล และวิถี New Normal (3) การออกแบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้เป็นเครื่องมือ (4) ต้องเน้นการทำงานในเชิงรุกและ (5) พัฒนาบุคลากรที่มีศักยภาพ

Article Details

How to Cite
พีสะระ ท. . (2023). สมรรถนะกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในยุคการเปลี่ยนแปลง. วารสารวิจยวิชาการ, 6(3), 341–358. https://doi.org/10.14456/jra.2023.73
บท
บทความวิชาการ

References

จำเนียร จวงตระกูล. (2563). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: ทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ศูนย์กฎหมายธุรกิจอินเตอร์ชั่นแนล.

ชัยรัตน์ ชามพูนท และคณะ. (2564). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในยุคการเปลี่ยนฉับพลันทางดิจิทัล. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, 8(1), 195-208.

ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2560). Competency ทำง่ายกว่า ได้ผลดีกว่า. กรุงเทพฯ: บริษัท เอช อาร์ เซ็นเตอร์ จำกัด.

ทศพร พีสะระ. (2561). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะหลักของบุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยกลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์). คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2561). กระบวนทัศน์ใหม่ของการบริหาร. เข้าถึงได้จาก https://www. sammajivasil.net/news11.htm.

พิชญ์สินี มะโน. (2562). ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในยุค DIGITAL DISRUPTION ต่อการศึกษา. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 18(1), 1-6.

เลิศชัย สุธรรมมานนท์ และวิเชศ คำบุญรัตน์. (2556). การพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ. กรุงเทพฯ: บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ (มหาชน).

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2562). การโค้ชเพื่อการรู้คิด. กรุงเทพฯ: บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด.

ศิรภัสสรศ์ วงศ์ทองดี. (2556). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมชาย สันติวัฒนกุล. (2563). 10 สมรรถนะเพื่องานในอนาคต. เข้าถึงได้จาก https://www. prachachat.net/csr-hr/news-574051.

โสภณ ภูเก้าล้วน และฐิติวรรณ สินธุ์นอก. (2557). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ สำหรับผู้จัดการในสายงานในทศวรรษหน้า. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อีเทอร์นิตีไอเดีย 168.

โสมวลี ชยามฤต. (2564). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับยุคดิจิทัลขององค์การภาครัฐและเอกชน. วารสารสหวิทยาการมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 4(1), 38-50.

อริญญา เถลิงศรี.(2561). Disruption: ทำลายล้างหรือสร้างโอกาส. เข้าถึงได้จาก https://thaipublica.org/2018/06/seac-disruption.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2551). กลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ เอช อาร์ เซ็นเตอร์ จำกัด.

Blanchard, P. N., & Thacker, J. W. (2012). Effective training: Systems, strategies and practices. (5th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall.

Branded Content. (2019). Techniques for working in the disruption era. How to survive and grow. Retrieved from https://brandinside.asia/seac-technic-in-disruption (In Thai)

Chalofsky, N. E., Rocco, T. S., & Morris, M. L. (Eds.). (2014). Handbook of human resource development. Hoboken, NJ: Wiley.

Christensen, C. M., Michael B. H. & Curtis W. J. (2017). Disrupting Class: How Disruptive Innovation will Change the Way the World Learns. New York: McGraw-Hill.

Delahaye, B. L. (2018). Human resource development: Adult learning and Knowledge management. (5th ed.). Queensland, Australia: John Wiley & Son.

DeSimone, R., L., & Werner, J., M. (2013). Human Resource Development. (6th ed.). South-Western: Cengage Learning.

Heneman, H. G., Schwab, D. S., Fossum, J. A., & Dyer, L. D. (1989). Personnel/ Human Resource Management. Illinois: Irwin.

Lim, G. S., Mathis, R. L., & Jackson, H. J. (2016). Human resource management and Asia edition. Lorong Chuan. (2nd ed.), Singapore: Cengage Learning.

McClelland, D. C. (1973). Testing for competence rather than for intelligence. American Psychologist, 28(1), 1-14.

McLagan, P. A. (1997). Competencies: The next generation. Training and Development, 51(5), 40-47.

Nadler, L., & Nadler, Z. (1989). Developing human resources. (3rd ed.). San Francisco: Jossey-Bass.

Noe, R. A. (2013). Employee training and development. (6th ed.). New York: McGraw-Hill.

Spencer, L. M., & Spencer, S. M. (1993). Competence at work: Models for superior performance. New York: John Wiley & Sons.

Swanson, R. A., & Holton, E. F., III. (2011). Foundations of human resource development. (2nd ed.). San Francisco: Berrett-Koehler.

Tett, R., Guterman, H., Bleier, A. & Murphy, P. (2000). Development and Content Validation of a “Hyperdimensional” Taxonomy of Managerial Competence. HUMAN PERFORMANCE, 13(3), 205–251.