การพัฒนาการเรียนรู้ในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานของหน่วยงานภาครัฐ

Main Article Content

ณัฐณิชา กลัมพสุต

บทคัดย่อ

บทความทางวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอการพัฒนาการเรียนรู้ในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานของหน่วยงานภาครัฐ พบว่า บุคลากรของหน่วยงานภาครัฐไทยไม่คุ้นชินกับการปฏิบัติงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ทำให้การปฏิบัติงานผิดพลาดซ้ำแล้วซ้ำเล่า จึงสร้างความวิตกกังวลและไม่มั่นใจในตัวเองให้กับบุคลากร โดยกลัวว่าตัวเองจะทำไม่ได้ จนเกิดกรอบความคิดด้านลบ หรือกรอบความคิดแบบยึดติด และพยายามที่จะหันกลับไปใช้แนวทางการปฏิบัติงานแบบเดิม ซึ่งไม่เป็นผลดีต่อนโยบายการพัฒนาการบริหารงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล การที่จะบรรลุผลสำเร็จในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ ต้องมีแนวทางแก้ไขโดยพัฒนาบุคลากร 3 ด้าน ได้แก่ 1) การสร้างให้มีกรอบความคิดเติบโต ที่พร้อมเรียนรู้และให้การยอมรับการบริหารงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 2) การพัฒนาบุคลากรให้มีรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย และ 3) การพัฒนาบทบาทผู้บริหารองค์กรในการสนับสนุนให้มีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

Article Details

How to Cite
กลัมพสุต ณ. . (2023). การพัฒนาการเรียนรู้ในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานของหน่วยงานภาครัฐ. วารสารวิจยวิชาการ, 6(6), 317–336. https://doi.org/10.14456/jra.2023.146
บท
บทความวิชาการ

References

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2565). นโยบายมุ่งเน้นประจำปี 2566. เข้าถึงได้จาก https://spd.moph.go.th/2023-focus-policy/

จุฬาลักษณ์ ทิพวัน และวราพร เอราวรรณ์. (2563). การพัฒนาตัวบ่งชี้กรอบความคิดแบบเติบโต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 26(2), 119-133.

ปราโมทย์ ลือนาม. (2554). แนวความคิด และวิวัฒนาการของแบบจำลองการยอมรับการใช้เทคโนโลยี วารสารการจัดการสมัยใหม่, 9(1), 9-17.

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566-2570). (2565, 1 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 139 ตอนพิเศษ 258 ง, หน้า 1-143.

พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ.2562. (2562, 22 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 136 ตอนที่ 67 ก, หน้า 57-66.

มารุต พัฒผล. (2566). บทที่ 8 การโค้ชเพื่อเสริมสร้าง Growth mindset ของผู้เรียน ใน เอกสารประกอบการเรียนรู้ รายวิชา สัมมนานวัตกรรมการโค้ชเพื่อการรู้คิด เข้าถึงได้จาก http:// http://www.curriculumandlearning.com/ /upload/Coaching/การโค้ชเพื่อเสริมสร้าง%20Growth%20mindset_1544292464.pdf

ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580. (2561, 13 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 135 ตอนที่ 82 ก, หน้า 1-61.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2560). คู่มือการสะท้อนการเรียนรู้ (Learning reflection) สำหรับ โครงการฝึกอบรมเสริมหลักสูตรนักบริหารระดับสูง (ส.นบส.) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 รุ่นที่ 10. เข้าถึงได้จาก https://www.ocsc.go.th /sites/default/files/attachment/article/3_manual_reflection.pdf

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2560). ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด์ 4.0 เข้าถึงได้จาก https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/document/thai-gov-system-context-thailand-4-0.pdf

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2565). โครงการพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ. เข้าถึงได้จาก https://www.ocsc. go.th/DLProject/mean-dlp

อัจฉรา เด่นเจริญโสภณ. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานของสำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (งานนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชาการบริหารทั่วไป). วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ : มหาวิทยาลัยบูรพา.

อัญชลี พิพัฒนเสริญ (2560). สารสนเทศและการสื่อสาร: กรอบการควบคุมภายในโคโซ่ 2013 วารสารวิชาชีพบัญชี 13(38), 115-121.

Beever, G. (2017). Peter Honey and Alan Mumford Learning Styles. Retrieved from https://extensionaus.com.au/extension-practice/peter-honey-and-alan-mu mford-learning-styles/

Dweck, C.S. (2006). Mindset: The New Psychology of Success. New York : Random House.

Davis, F. D. (1985). A Technology Acceptance Model for Empirically Testing New End-User Information Systems: Theory and Results. Massachusetts Institute of Technology.

Venkatesh, V. & Davis, F. (2000). A Theoretical Extension of the Technology Acceptance Model: Four Longitudinal Field Studies. Management Science, 46(2), 186-204.

Venkatesh, V. & Bala, H. (2008). Technology Acceptance Model 3 and a Research Agenda on. Interventions. Decision Sciences, 39(2), 273-315.