แนวทางการปรับปรุงระบบจัดการข้อมูลของศาลยุติธรรมเพื่อให้รองรับ ต่อการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในการบริหารจัดการคดี : ศึกษากรณีการกำหนดจำนวนวันนัดสืบพยาน
คำสำคัญ:
การบริหารจัดการคดี, เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์, การวิเคราะห์ข้อมูลบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์มุ่งศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบจัดการข้อมูลของ
ศาลยุติธรรมโดยการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อช่วยให้ระบบการบริหารจัดการคดีของศาลสามารถดำเนินไปได้อย่างเต็มศักยภาพการปรับปรุงระบบจัดการข้อมูลดังกล่าวแยกพิจารณาขั้นตอนได้
เป็น3 ส่วน ตั้งแต่การปรับปรุงรูปแบบการรวบรวมข้อมูลที่ต้องรวบรวมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นข้อมูลที่มีโครงสร้าง ไม่ใช่แค่การรวบรวมข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบไฟล์ pdf เพื่อเป็นรากฐานให้เทคโนโลยีต่าง ๆ สามารถการประยุกต์ใช้ข้อมูลส่วนนี้ต่อไปได้ จากนั้นจึงเข้าสู่กระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งเมื่อเป็นข้อมูลที่มีโครงสร้างแล้วจึงสามารถใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในการหาข้อมูลเชิงลึกและในท้ายที่สุดจึงเป็นการใช้ประโยชน์จากข้อมูลจากองค์ความรู้เชิงลึกใหม่ที่ได้เพื่อให้การใช้งานประโยชน์จากข้อมูลนั้นมีประสิทธิภาพสูงสุดดังนั้นเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับปัญหาการกำหนดวันนัดสืบพยานที่ไม่เหมาะสมของศาลยุติธรรมหากศาลมีการจัดการข้อมูลด้วยเทคโนโลยีอย่างเป็นระบบการใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในการหาข้อมูลเชิงลึกเช่น เรื่องกำหนดวันนัดสืบพยานที่เหมาะสมในแต่ละคดีจะมีส่วนช่วยให้การบริหารจัดการคดีของ
ศาลยุติธรรมเป็นไปโดยราบรื่นอันเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่การบริหารงานยุติธรรมศาลในภาพรวม
References
OECD. (2019). The Path to Becoming a Data-Driven Public Sector, Retrieved from https://doi.org/10.1787/059814a7-en.
Charlotte van Ooijen, Barbara Ubaldi, Benjamin Welby. (2019). A data-driven public sector: Enabling the strategic use of data for productive, inclusive and trustworthy governance. Retrieved from https://doi.org/10.1787/09ab162c-en.
Jamie Berryhill, KévinKokHeang, Rob Clogher, Keegan McBride. (2019). Hello, World: Artificial Intelligence and its Use in the Public Sector. Retrieved fromhttps://www.oecd-opsi.org/projects/ai/.
อสมา กุลวานิชไชยนันท์. (2561). Big Data Series I : Introduction to a Big Data Project ปฐมบทในการทำโปรเจคบิ๊กเดต้า.(พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: บริษัทพราว เพรส (2002) จำกัด.
นาฟลิก, โคล นุสบาเมอร์. (2564). Storytelling with Data. กรุงเทพมหานคร: บริษัท บุ๊คสเคป จำกัด.
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 182
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 173/1
โครงการพัฒนาระบบการนั่งพิจารณาคดีครบองค์คณะและต่อเนื่อง สำนักวิชาการศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม. (2549). คู่มือสำหรับตุลาการในการนั่งพิจารณาคดีครบองค์คณะและต่อเนื่อง. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร : บริษัทเซเว่น พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด. หน้า 9 และ 11
ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการยื่น ส่ง และรับคำคู่ความและเอกสารทางระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์พ.ศ. 2560
ประกาศสำนักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการยื่น ส่ง และรับคำคู่ความและเอกสารทางระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์.ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการของภาครัฐ (AI in Government Service).สืบค้นจาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/Articles/AI-in-Government-Services.aspx.
สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักงานศาลยุติธรรม. แผนพัฒนาดิจิทัลศาลยุติธรรมพ.ศ. 2565 – 2568.สืบค้นจาก https://techno.coj.go.th/th/content/category/detail/id/21/iid/296275
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว