การประชุมรัฐสภากับหลักอปริหานิยธรรม 7

ผู้แต่ง

  • เจษฎา ทองขาว -
  • ชลีรัตน์ มเหสักขกุล
  • กฤษฎา อภินวถาวรกุล

คำสำคัญ:

การประชุม, รัฐสภา, อปริหานิยธรรม

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่องนี้มุ่งศึกษาถึงแนวคิดของหลักอปริหานิยธรรม 7 ที่ได้มีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลหลักธรรมดังกล่าวเป็นธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงแสดงแก่กษัตริย์แห่งแคว้นวัชชีเพื่อให้นำไปปรับใช้ในการปกครองเมืองของตน โดยหลักอปริหานิยธรรม 7 ประกอบไปด้วยข้อปฏิบัติ 7 ประการ ได้แก่ การหมั่นประชุมกันเสมอ การมาประชุมโดยพร้อมเพรียง การไม่บัญญัติสิ่งที่ไม่ควรบัญญัติ การเคารพนับถือผู้ที่มีอายุมากกว่าการไม่ฉุดคร่าขืนใจสตรี การไม่ละเลยบูชาธรรม รวมทั้งการคุ้มครองดูแลประชาชนโดยชอบธรรม ซึ่งหลักทั้ง 7 ประการตามแนวทางของอปริหานิยธรรม 7นี้ได้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และข้อบังคับการประชุมสภา หากได้นำมาปรับใช้และสร้างความตระหนักในการปฏิบัติหน้าที่ให้แก่สมาชิกรัฐสภาในฐานะที่เป็นตัวแทนของปวงชนชาวไทยจะส่งผลดีต่อการปกครองประเทศ รวมทั้งสมาชิกรัฐสภาจะได้ดำเนินงานภายใต้บทบาทหน้าที่ของตน ไม่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนตน ทำหน้าที่ในฐานะตัวแทนของปวงชนชาวไทยได้อย่างเต็มที่ และสามารถสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่ประเทศไทยได้เป็นอย่างดี

References

เจษฎา ทองขาว. (2560).พระพุทธศาสนากับศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ : ท่าทีและการปฏิบัติต่อทาส.วารสารนิติสังคมศาสตร์,10(2), 81-110.

บรรจบ บรรณรุจิ. (2550).อปริหานิยธรรม-รัฐธรรมนูญแคว้นวัชชี : มองวัชชีแล้วมองไทย.วารสารราชบัณฑิตยสถาน, 32(3), 525-527.

เจษฎา ทองขาว. (2557).“ประชาธิปไตย” ต้อง “เป็นธรรม(ะ)”.รัฐสภาสาร, 62(8), 39-41.

ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2543).ประชาธิปไตยไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ: โครงการเอกสารและตำราคณะรัฐประศาสนาศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 79.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2564 มาตรา 83.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 107 และมาตรา 269.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 81, มาตรา 129, มาตรา 151, มาตรา 152, มาตรา 153, มาตรา 155, มาตรา 159, มาตรา 172, มาตรา 177, มาตรา 178, มาตรา 204, มาตรา 217, มาตรา 256 และมาตรา 272.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 121-123 และมาตรา 127.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตตฺโต). (2554).พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.

พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺตชีโว). (ม.ป.ป.).ทำงานเป็นทีมอย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยอปริหานิยธรรม. กรุงเทพฯ: บริษัท บีเอ็นเค บุ๊คส์ จำกัด.

สุชีพ ปุญญานุภาพ. (ม.ป.ป.).พระไตรปิฎกฉบับประชาชน. สืบค้น 19 กุมภาพันธ์ 2566,จาก https://84000.org/tipitaka/read/byitem.php?book=10&item=68&items=1&preline=0&pagebreak=0

มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2551).พระไตรปิฎกแก่นธรรม ฉบับมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก เล่ม 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระครูสุพลวุฒิกร (ทวนชัย สุภโร). (2558).“ระบอบสามัคคีธรรม : บทเรียนจากเจ้าลิจฉวีถึงสังคมไทย”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2(1), 48-49.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 121.

พระครูสุพลวุฒิกร (ทวนชัย สุภโร). (2558).“ระบอบสามัคคีธรรม : บทเรียนจากเจ้าลิจฉวีถึงสังคมไทย”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2(1), 49.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 120.

ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 ข้อ 25.

ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2562 ข้อ 20

ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2563 ข้อ 12-17, ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 ข้อ 20-26 และข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2563 ข้อ 15-17.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 120.

โครงการอินเตอร์เน็ตเพื่อประชาชน (iLaw). (2565).สภาล่มคืออะไร? ตอบคำถามคาใจสภาอับปาง. สืบค้น 19 กุมภาพันธ์ 2566,จาก https://ilaw.or.th/node/6076 และ ไทยโพสต์. (2566). งามหน้า! สภาเปิดไม่ถึง 25 นาทีล่มแล้ว. สืบค้น 19 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.thaipost.net/hi-light/305227/

พระครูสุพลวุฒิกร (ทวนชัย สุภโร). (2558).“ระบอบสามัคคีธรรม : บทเรียนจากเจ้าลิจฉวีถึงสังคมไทย”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2(1), 49-50.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 5.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 148.

พระครูสุพลวุฒิกร (ทวนชัย สุภโร). (2558).“ระบอบสามัคคีธรรม : บทเรียนจากเจ้าลิจฉวีถึงสังคมไทย”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2(1), 44-47.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 80, มาตรา 116 และมาตรา 119.

ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 ข้อ 5, ข้อ 6, ข้อ 9, ข้อ 29 และข้อ 68-77, ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2562 ข้อ 5, ข้อ 6, ข้อ 10, ข้อ 24, ข้อ 27, ข้อ 52, ข้อ 54-63.

พระครูสุพลวุฒิกร (ทวนชัย สุภโร). (2558). “ระบอบสามัคคีธรรม : บทเรียนจากเจ้าลิจฉวีถึงสังคมไทย”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2(1),50-51.

โครงการอินเตอร์เน็ตเพื่อประชาชน (iLaw). (2565). ผู้หญิงอยู่ตรงไหน ในการเมืองไทย 2565. สืบค้น 11 มีนาคม 2566, จาก https://ilaw.or.th/node/6097.

ไทยพีบีเอส. (2566). จำนวน ส.ส.หญิงในสภาฯ น้อยกว่ามาตรฐานสากล. สืบค้น 11 มีนาคม 2566, จาก https://www.youtube.com/watch?v=qe6J2ZXLgDM

พระครูสุพลวุฒิกร (ทวนชัย สุภโร). (2558). “ระบอบสามัคคีธรรม : บทเรียนจากเจ้าลิจฉวีถึงสังคมไทย”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2(1), 51.

ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2563 ข้อ 147-149, ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2563. ข้อ 181-183 และข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2563. ข้อ 183-185.

พระครูสุพลวุฒิกร (ทวนชัย สุภโร). (2558).“ระบอบสามัคคีธรรม : บทเรียนจากเจ้าลิจฉวีถึงสังคมไทย”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2(1), 52.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 31.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-28