การจัดการเรียนรู้ที่มีคุณภาพเพื่อการสร้างรอยเชื่อมต่อระหว่างการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

ผู้แต่ง

  • ภาวิณี ทุ่งไธสง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2

คำสำคัญ:

กระบวนการเรียนรู้, การบริหารจัดการ, การศึกษาปฐมวัย, ครู, การจัดการเรียนการสอน, ภาวะผู้นำ

บทคัดย่อ

การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อระหว่างการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 มีความสำคัญอย่างยิ่ง ส่งผลดีต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในการปรับตัวรับความเปลี่ยนแปลงได้เป็นอย่างดี สามารถพัฒนาการเรียนรู้ได้อย่างราบรื่น การเชื่อมต่อของการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จะประสบผลสำเร็จได้มีองค์ประกอบที่เป็นปัจจัยสนับสนุนได้แก่ ผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นำและการบริหารจัดการศึกษา (Leadership and Management) ครูและกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ (Teacher and Teaching) และพ่อแม่ผู้ปกครอง (Parent) อบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมการศึกษาของบุตรหลานในการศึกษาต่อระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเป็นผู้มีบทบาทสำคัญต้องร่วมมือร่วมใจช่วยเหลือและไว้วางใจในการเชื่อมการเรียนรู้ของนักเรียนทั้งสองระดับได้อย่างมีคุณภาพ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

ณรงค์ พิมสาร และคณะ. (2563). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาที่มีต่อการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 7(2). 315.

พระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พุทธศักราช 2562 (2562, 30 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เลมที่ 136 ตอนที่ 56 ก. หน้า 5-16.

ศิริวรรณ์ ฉายะเกษตริน. (2552) การสอนแจกลูกสะกดคํา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดลินิวส์.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบข้าราชการ (มปป). การบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management. สืบค้น 29 เมษายน 2565, จาก http://web.sut.ac.th/qa/pdf/Knowledge-general/24-Change_Management1.pdf

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2544ช). สาระสำคัญที่เกี่ยวกับบทบาทของบิดามารดา ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้เรียนตามแนวทางพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). มาตรฐานการศึกษาชาติ พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักทดสอบทางการศึกษา. (2562). คู่มือการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. สืบค้น 29 ธันวาคม 2563, จาก http://www.kptpeo.moe.go.th/

สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2562). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ. สืบค้น 4 มกราคม 2564, จาก http://nscr.nesdb.go.th/

สุกัญญา รอดระกํา. (2561). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “GRADUATE SCHOOL CONFERENCE 2018” 29 มิถุนายน 2561 (น.575-579). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

อภิวุฒิ พิมลแสงสุริยา. (2563). ปัจจัย 4 ของภาวะผู้นำ. สืบค้น 30 ธันวาคม 2563, จาก https://slingshot.co.th/resources/library/

Adair, J.E. (2010). Strategic Leadership : How to Think and Plan Strategically and Provide Direction. London: KoganPage.

Copple, C. & Bredekamp, S. (2009). Developmentally appropriate practice in early childhood programs serving children from birth through age 8. 3rd ed. Washington, DC: National Association for the Education of Young Children.

Dombro, A.L., Jablon, J.R., & Stetson, C. (2011). Powerful interactions: how to connect with children to extend their learning. Washington, DC: National Association for the Education of Young Children.

Epstein, A.S. (2007). The intentional teacher: choosing the best strategies for young children’s learning. Washington, DC: National Association for the Education of Young Children.

Jensen, E. (2008). Brain-based learning : the new paradigm of teaching. (2nd ed). Thousand Oaks, CA. : Corwin Press, c2008.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-07-27