จิตวิญญาณความเป็นครูสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูบรรณารักษ์ กับการจัดการเรียนรู้ให้ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ทักษะความรอบรู้สารสนเทศ และเท่าทันการเปลี่ยนแปลง
คำสำคัญ:
จิตวิญญาณความเป็นครู, การจัดการเรียนรู้, ทักษะความรอบรู้สารสนเทศ, การเท่าทันการเปลี่ยนแปลงบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสะท้อนให้ทราบว่า “จิตวิญญาณความเป็นครู” หมายถึง การตระหนักรู้ภายในตนเอของบุคคล ในการดำเนินชีวิตทั้งการควบคุมความคิด ความเชื่อ อุดมการณ์ พฤติกรรม การปฏิบัติตน โดยยึดกรอบคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ เป็นแก่นแท้ของจิตใจให้ตระหนักรู้ในการรับผิดชอบต่อหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ครูให้บรรลุตามเป้าหมาย และอุดมการณ์ของการเป็นครูที่ดี ซึ่งการจัดการเรียนการสอนที่มีครู สอนเป็น สอนดี สอนเก่ง และนำหลักการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการสะท้อนคิดผ่านประสอบการณ์เรียนรู้เพื่อทบทวนตนเอง จะสนับสนุนให้ผู้เรียน เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา และเกิดทักษะความรอบรู้สารสนเทศและเท่าทันการเปลี่ยนแปลง 3 ระดับ ได้แก่ 1) ความรอบรู้สารสนเทศพื้นฐาน 2) ความรอบรู้สารสนเทศขั้นปฏิสัมพันธ์ 3) ความรอบรู้สารสนเทศขั้นวิจารณญาณ ซึ่งความรอบรู้เท่าทันทั้ง 3 ระดับ มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) ร่างกาย 2) จิตใจ 3) สังคม และ4) ด้านปัญญาของผู้เรียนในยุคดิจิทัล ถือเป็นหัวใจสำคัญในการพัฒนาผู้เรียนให้ สามารถอยู่รอด มีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถนำความรู้มาพัฒนา สังคม และประเทศชาติ
Downloads
References
Apiwantakorn. (2017). A guide to developing media literacy in high school adolescents. Bangkok : Offset Creation. [In Thai]
Association, A. L. (2000). Information literacy competency standards for higher education. Chicago: Illinois.
Benson, J. T. (2000). Wisconsin’s model academic standards for information and technology literacy. Madison, Wisconsin: Wisconsin Department of Public Instruction.
Bunsltan, P. (2013). Phuttha Aphipratya : khwamching kieokap chakkrawan, lok, manut, læ sangsarawat. Bangkok : Samnakphim haeng Chulalongkon Mahawitthayalai. [In Thai]
Chalakbang, W. (2016). The spirituality of teachers: a key characteristic of professional teachers. Nakhon Phanom University Journal, 6(2), 123-128. [In Thai]
Chuengsatiansup, K. & Anuphongphat, N. (2017). Intellectual health: spirituality, religion and Humanity (Sukhphaph thang payya : cit wiyyan sasna laes khwan pen musy). Nonthaburi : National Health Commission Office. [In Thai]
Gibbs G. (1988). Learning by doing: a guide to teaching and learning methods. Further education unit. Oxford: Oxford Polytechnic.
Kaeodumkoeng, K. & Triphetsriurai, N. (2011). Health literacy. Bangkok : New Thammada Press. [In Thai]
Kamyan, P. (2011). Sense of coherence and related factors among abused female adolescents. Journal of Nursing Science, 38(1), 111-124.
Lester, B. M., Masten, A. S., & McEwen, B. S. (2006). Resilience in children. Annals of the New York Academy of Sciences, 1094(1) 108-113.
Literacy, G. P. (2015). Digital Literacy. Retrieved July 21, from https://education.gov.mt/en/elearning/Documents
Nutbeam, D. (2008). The evolving concept of health literacy. Social Science & Medicine, 68(2008), 2072–2078.
Office of the Education Council. (2560). The National education plan B.E. 2560-2579 (2017-2036). Bangkok : Prigwhangraftfic. [In Thai]
Santhong, W. (2017). Education philosophy and educational development in the midst of social and cultural change. Journal of Education Loei Rajabhat University. 10(1), 1-13. [In Thai]
Sinlarat, P. (2017). Thai education 4.0 philosophy of creative education and productivity. Bangkok : Printing Press of Chulalongkorn University. [In Thai]
Tantivejkal, S. (2016). Tam roy Phra Yukholabath kru haeng phandin. Bangkok : Printing Press of Chulalongkorn University. [In Thai]
Thanawisut, P. (2013) I love Dharma. Bangkok : Cyberprint. [In Thai]
United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. (2004). Digital Literacy. Retrieved July, 20 from https://rmportal.net/library/content/136246e-1.pdf/at_download/file
West, W. (2004). Psychotherapy & spirituality: crossing the line between therapy and religion. London: SAGE.