การพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงโดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

ผู้แต่ง

  • จิตรา ชนะกุล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
  • กรรณิการ์ สุสม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
  • มัลลิกา จุฑามณี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

คำสำคัญ:

ทักษะชีวิตเด็กปฐมวัยศตวรรษที่ 21, เศรษฐกิจพอเพียงการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1).เพื่อเปรียบเทียบทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย ในศตวรรษที่ 21ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ก่อนและหลังการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กปฐมวัยอายุ 5- 6 ปี จำนวน 15 คน และผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยกลุ่มตัวอย่างที่สมัครเข้าร่วมโปรแกรมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ 1)โปรแกรมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย 2) แผนกิจกรรมโปรแกรมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย 3) คู่มือการพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย สำหรับผู้ปกครอง 4) แบบประเมินทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย 5) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ปกครองต่อโปรแกรมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t – test

ผลการศึกษาพบว่า 1) เด็กปฐมวัยมีทักษะชีวิตในศตวรรษที่ 21 ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงสูงขึ้นหลังจากผู้ปกครองเข้าร่วมโปรแกรมการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยโดยมีคะแนนสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ผู้ปกครองมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโปรแกรมการมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยโดยภาพรวม ในระดับมากที่สุด ( gif.latex?\bar{x}= 4.55, S.D.=0.423)

References

กรรณิการ์ สุสม.(2554).การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเพื่อพัฒนาด้านคุณธรรมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง.วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า.ปีที่ 1 ฉบับที่ 1.2557

กรมวิชาการ. (2546). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2546 (พิมพ์ครั้งที่1).กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กาญจนา คงสวัสดิ. (2551). โรงเรียนของเราให้อะไรกับเด็กอนุบาลบ้าง.วันที่ค้นหาข้อมูล 26ธันวาคม 2551 เข้าถึงได้จากhttps://www. Edba. In. th /Kinder /doc /Rongrian – Hai Arai KapDek. Pdf

กิตติ กรทอง.(2552).การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดำเนินการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตอำเภอพระประแดงจังหวัดสมุทรปราการ.วิทยานิพนธ์.ครุศาตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา.คณะศึกษาศาสตร์.มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี.

ระพันธุ์ พูลพัฒน์. (2556).การพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย.รายงานการวิจัยนำเสนอในการประชุมวิชาการครบรอบ 56 ปี แห่งการสถาปนา คณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ.2556.คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ชบา พันธ์ศักดิ์.(2550).การพัฒนารูปแบบการสอนเชิงประสบการณ์และการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยการร่วมงานเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตให้เด็กปฐมวัย.วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิตภาควิชาหลักสูตรและการสอน.กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธรรมรัตน์ พงษ์ทอง.(2559).การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนในเขต อำเภอแก่หางแมวสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรีเขต1.งานนิพนธ์สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.ชลบุรี: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

นฤมล เนียมหอม.ห้องเรียนครูแมว. การสอนแบบโครงการ. (ออนไลน์)สืบค้นจาก https://www. nareumon.com/วันที่ 17 พฤศจิกายน 2561

นันทิยาน้อยจันทร์. (2548). การประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย.คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครสวรรค์. นครปฐม : นิตินัย.

ปิยะนันท์ หิรัณย์ชโลทร.(2548).เด็กปฐมวัยกับทักษะการรู้หนังสือเบื้องต้น. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์,20(2): 1-7.

ประภาภรณ์ จังพานิช. (2553). ผลของโครงการฝึกอบรมการเลี้ยงดูเด็กที่มีต่อความรู้และการเลี้ยงดูเด็ก ของผู้ปกครอง.ปริญญานิพนธ์กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พรชุลี ลังกา.(2551).ผลการใช้โปรแกรมการให้การศึกษากับผู้ปกครองในการสร้างวินัยในตนเองให้แก่เด็กอนุบาลโดยใช้รูปแบบ SECI. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิตภาควิชาหลักสูตรและการสอน. กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรทิพย์ ศิริภัทราชัย.(เมษายน – มิถุนายน 2556). Stem Education. กับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21,วารสารนักบริหาร,33,49-56

พรรณี ช.เจนจิต. (2550).จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: เกรท เอ็ดดูเคชั่น.

พัฒนา ชัชพงศ์.(2555).เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง ความร่วมมือบ้านและโรงเรียน: ผู้ปกครองกับกาส่งเสริมพัฒนาการของลูก.กรุงเทพฯ: โรงเรียนอนุบาลกุ๊กไก่.

เพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์. (2536).พัฒนาการทางพุทธปัญญา(พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยา.

รุ่งลาวัลย์ ละอำคา.ทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย : แก่นชีวิตที่เสริมสร้างได้จากครอบครัว. วารสารเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. ปีที่ 1. ฉบับที่ 2 ประจำเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 – กรกฎาคม 2557

วนิดา ขาวมงคล เอกแสงศรี (2546). หลักการสอนการพัฒนาทักษะชีวิต.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วัฒนา มัคคสมัน. (2544).ตัวอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบการสอนแบบโครงการสำหรับเด็ก.กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช

วิวรรณ สารกิจปรีชา (2544).ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของผู้ปกครองกับพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมในการส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียน โรงเรียนอนุบาลกุ๊กไก่ เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร.ปริญญานิพนธ์. กศ.ม. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2553). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย แนวคิดเชิงทฤษฎี-วัยเด็กตอนกลาง (พิมพ์ครั้งที่9). ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

สุภาวิณี สายบัว.(2554).ความสัมพันธ์ระหว่างการให้ความรู้ผู้ปกครองกับความรู้ของผู้ปกครองในการสร้างเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในสถานศึกษา เขตอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี.วิทยานิพนธ์.ศศ.ม.ปทุมธานี: บัณฑิตวิทยาลัย.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

สุภาพร สุวรรณศรีนนท์. (2549). บทบาทการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการสร้างเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในเขตบางกอกน้อย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 3. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.(2542).พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542.กรุงเทพฯ .พริกหวานกราฟฟริก.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2552). การพัฒนา “ทักษะชีวิต” ในระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.

อรุณี หรดาล. (2536). ผู้ปกครองกับการจัดการศึกษาปฐมวัยในประมวลสาระชุดวิชาหลักการและแนวคิดทางการศึกษาปฐมวัย. หน่วยที่ 15 เล่มที่ 4.นนทบุรี:คณะศึกษาศาสตร์.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุมาพร ตรังคสมบัติ (2540). จิตบำบัดและการให้คำปรึกษาครอบครัว.กรุงเทพ ฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Berger, E. H. Parents as partners in education: families and schools working together. 4th ed. New Jersey :Prentice-Hall, 1995.

Epstein,Joyce.L.(1992)”School and Family Partnership”In Encyclopedia of Education Research 6 thed.Newyork :Mac Millan

Friend, M. and Cook, L. Interactions : collaboration skills for school professionals. Boston : Pearson Education, 2003.

Liontos, L.B. At-riskfamilies and school: becoming partners.Eugene,OR: ERI cleaninghouse and educational management, College of EducationUniversity of Oregan, 1998.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-29