ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย

Main Article Content

อัมภิณี ลาภสมบูรณ์ดี

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอสถานการณ์การทำงานของผู้สูงอายุและศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทยโดยใช้การวิเคราะห์เชิงปริมาณจากข้อมูลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรในไตรมาสที่ 3 (เดือนกรกฎาคม-กันยายน) ระหว่าง พ.ศ. 2553-2563 ร่วมกับข้อมูลการสำรวจ
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2563 โดยใช้แบบจำ ลองการถดถอยโลจิสติกส์แบบทวิ ผลการศึกษาพบว่า แนวโน้มอัตราการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของผู้สูงอายุลดลง รูปแบบการทำงานเป็นงานทั่วไปที่ไม่ต้องใช้ทักษะ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานของผู้สูงอายุ ได้แก่ เพศชาย อายุ สถานภาพสมรส หนี้ครัวเรือน ปัจจัยที่ส่งผลต่อการที่ผู้สูงอายุจะไม่ทำงาน ได้แก่ อายุยกกำลังสอง ระดับการศึกษาสูงกว่า อาศัยอยู่ในเขตเมืองสิทธิสวัสดิการราชการ และอัตราส่วนการเกื้อหนุน ดังนั้น การสนับสนุนการทำงานสำหรับแรงงานผู้สูงอายุเพศหญิง การออกกฎหมายเพื่อคุ้มครองแรงงานผู้สูงอายุให้มีสภาพการทำงานที่เหมาะสม การสร้างแรงจูงใจทางการเงินจากการทำงานหลังเกษียณอายุจะช่วยลดการออกจากตลาดแรงงานในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ
ซึ่งจะช่วยเพิ่มจำนวนแรงงานผู้สูงอายุในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ

Article Details

How to Cite
ลาภสมบูรณ์ดี อ. (2022). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานของผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 42(3), 18–33. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/utccjournalhs/article/view/254022
บท
บทความวิจัย

References

คมสัน สุริยะ. (2552). แบบจำลองโลจิต: ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการวิจัยทางเศรษฐศาสตร์. เชียงใหม่:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คณะเศรษฐศาสตร์, ศูนย์การวิเคราะห์เชิงปริมาณ.

เฉลิมพล แจ่มจันทร์, และ สุภรต์ จรัสสิทธิ์. (2564). สถานการณ์และแนวโน้มสภาพการทำงานของผู้สูงอายุไทย:การวิเคราะห์จากข้อมูลการสำรวจระดับประเทศ. สืบค้นจาก https://ipsr.mahidol.ac.th/ipsrbeta/FileUpload/PDF/Report-File-630.pdf

นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2564). สภาพปัญหาและรูปแบบการจ้างแรงงานสูงอายุของสถานประกอบการเอกชนในประเทศไทย. วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์, 4(1), 50-66.

พิสุทธิ์ กุลธนวิทย์, และนงนุช สุนทรชวกานต์. (2562). การตัดสินใจทำงานและจ้างงานต่อหลังเกษียณอายุ:บทสำรวจภาคสนาม. BU Academic Review, 18(1), 148-164. สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buacademicreview/article/view/165585

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2561). รายงานการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). การสำรวจภาวะการทำงานของประชากรทั่วราชอาณาจักร ไตรมาสที่ 3:กรกฎาคม-กันยายน 2563. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2555). ระบบหลักประกันสุขภาพไทย. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.

Becker, G. S. (2007). Health as human capital: Synthesis and extensions. Oxford Economic Papers,59(3), 379-410. https://doi.org/10.1093/oep/gpm020

Borjas, G. J. (2013). Labor economics (6th ed.). New York, NY: McGraw-Hill/Irwin.

Britton, J., & French, E. (2020). Health and employment amongst older workers. Fiscal Studies,41(1), 221-250. https://doi.org/10.1111/1475-5890.12213

Campbell, J. C., Ikegami, N., & Gibson, M. J. (2010). Lessons from public long-term care insurance in Germany and Japan. Health Affairs, 29(1), 87-95. doi:10.1377/hlthaff.2009.0548

Chen, J., & Chuang, C.-H. (2012). Phased retirement for older workers in Taiwan. Journal of Family and Economic Issues, 33, 328-337. https://doi.org/10.1007/s10834-012-9285-4

Coile, C., & Gruber, J. (2007). Future social security entitlements and the retirement decision.The Review of Economics and Statistics, 89(2), 234-246. https://doi.org/10.1162/rest.89.2.234

Coile, C. C. (2015). Economic determinants of workers’ retirement decisions. Journal of Economic Surveys, 29(4), 830-853. https://doi.org/10.1111/joes.12115

Cremer, H., Lozachmeur, J.-M., & Pestieau, P. (2008). Social security and retirement Decision: A positive and normative approach. Journal of Economic Surveys, 22(2), 213-233.https://doi.org/10.1111/j.1467-6419.2007.00528.x

Favreault, M., Ratcliffe, C., & Toder, E. (1999). Labor force participation of older workers: Prospective changes and potential policy responses. National Tax Journal, 52(3), 483-503.

Figueira, D. A. M., Haddad, M. d. C. L., Gvozd, R., & Pissinati, P. d. S. C. (2017). Retirement decisionmaking influenced by family and work relationships. Revista Brasileira de Geriatria e Gerontologia, 20(2), 206-213. https://doi.org/10.1590/1981-22562017020.160127

Greene, W. H. (2008). Econometric analysis (6th ed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson/Prentice Hall.

Haider, S. J., & Loughran, D. (2001). Elderly labor supply: Work or play? Retrieved from https://ssrn.com/abstract=285981

Holtmann, A. G., Ullmann, S. G., Fronstin, P., & Longino, C. F. (1994). The early retirement plansof women and men: An empirical application. Applied Economics, 26(6), 591-601. https://doi.org/10.1080/00036849400000029

Horioka, C. Y., Morgan, P. J., Niimi, Y., & Wan, G. (2018). Aging in Asia: Introduction to symposium.Review of Development Economics, 22(3), 879-884. https://doi.org/10.1111/rode.12545

Kallestrup-Lamb, M., Kock, A. B., & Kristensen, J. T. (2016). Lassoing the determinants of retirement. Econometric Reviews, 35(8-10), 1522-1561. doi: 10.1080/07474938.2015.1092803

Ogawa, N., Mansor, N., Lee, S.-H., Abrigo, M. R. M., & Aris, T. (2021). Population aging and the three demographic dividends in Asia. Asian Development Review, 38(1), 32-67. https://doi.org/10.1162/adev_a_00157

Polanec, S., Ahcan, A., & Verbic, M. (2013). Retirement decisions in transition: Microeconometric evidence from Slovenia. Post-Communist Economies, 25(1), 99-118. https://doi.org/10.1080/14631377.2013.756703

Poplawski-Ribeiro, M. (2020). Labour force ageing and productivity growth. Applied Economics Letters, 27(6), 498-502. https://doi.org/10.1080/13504851.2019.1637509

Roy, S. B. (2018). Effect of health on retirement of older Americans: A competing risks study.Journal of Labor Research, 39(1), 56-98. https://doi.org/10.1007/s12122-017-9255-6

Shimizutani, S. (2011). A new anatomy of the retirement process in Japan. Japan and the World Economy, 23(3), 141-152. https://doi.org/10.1016/j.japwor.2011.07.002

Stock, J., & Wise, D. (1990). Pensions, the option value of work, and retirement. Econometrica,58(5), 1151-1180.

United Nations. (2017). World population prospects: The 2017 revision, key findings and advance tables. Retrieved from https://population.un.org/wpp/publications/files/wpp2017_keyfindings.pdf