การพัฒนาสื่อดิจิทัลตามแนวคิดของกาเย่ด้วยการสอนบน Padlet วิชาโปรแกรมตารางคำนวณ (2204-2103) สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

Main Article Content

สุรีรัตน์ สุ่มมาตย์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงเพื่อ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิ ภาพการพัฒนาสื่อดิจิทัลตามแนวคิดของกาเย่ด้วยการสอนบน Padlet วิชาโปรแกรมตารางคำนวณ (2204-2103) 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน  3) เพื่อศึกษาความ    พึงพอใจของผู้เรียนที่มีการพัฒนาสื่อดิจิทัลตามแนวคิดของกาเย่ ด้วยการสอนบน Padlet วิชาโปรแกรมตารางคำนวณ (2204-2103) กลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ สื่อการสอนดิจิทัลบน Padlet เอกสารประกอบการเรียน แบบทดสอบ แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าที (t-test Dependent)  ผลการวิจัยพบว่า


        1)  การพัฒนาสื่อดิจิทัลตามแนวคิดของกาเย่ ด้วยการสอนบน Padlet วิชาโปรแกรมตารางคำนวณ (2204-2103) ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 =83.53/88.78
        2)  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 0.01 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้
        3)  ความพึงพอใจที่มีต่อการพัฒนาสื่อดิจิทัลตามแนวคิดของกาเย่ด้วยการสอนบน Padlet วิชาโปรแกรมตารางคำนวณ (2204-2103) อยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] KRUcom99. (2561). padlet-คืออะไร/.จาก
http://www.gg.gg/a7z3m . สืบค้นเมื่อ 9
พฤษภาคม 2561.
[2] ไพรัชนพ วิริยวรกุล และดวงกมล โพธิ์นาค.
(2557). Google Apps for Education
นวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัล. วารสาร
วิจัย มสด สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
ปีที่ 7 ฉบับที่3 กันยายน- ธันวาคม. 2557,
กรุงเทพฯ, หน้า 103-112.
[3] ดวงกมล โพธิ์นาค (2559) การศึกษาสภาพ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับ
ปริญญาตรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ
นครเหนือ.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ลำปาง ปีที่ : 5 ฉบับที่ : 2 เลขหน้า : 45-58.
[4] ไพบูลย์ เกียรติโกมล และศัชชญาส์ ดวงจันทร์.
(2560). การสร้างสื่อมัลติมีเดีย 2 มิติเรื่อง
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับ คอมพิวเตอร์.
วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ปีที่ 1 ฉบับที่ 1,
(มกราคม – มิถุนายน) : 70-77.
[5] เพชรินทร์ ตันวัฒนกุล และคณะ (2560). การ
พัฒนาบทเรียนออนไลน์ตามแนวคิดของ
กาเย่ด้วย Edmodo วิชาโปรแกรมตาราง
คำนวณ (Microsoft Excel) สำหรับ
นักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ. วารสารวิจัยรำไพ
พรรณี ปีที่ 11 ฉบับที่ 3, (กันยายน–
ธันวาคม) : 95-101.
[6] สุนิพันธ์ ศรีสุพจนานนท์ และปวัฒวงศ์ บำรุง
ขันท์. (2560). การพัฒนาทักษะการคิด
วิเคราะห์ในการเขียนโปรแกรมงานระบบ
อุตสาหกรรมและงานคลังสินค้าในโรงงาน
อุตสาหกรรม สำหรับนักศึกษาระดับ
ปริญญาตรี ด้วยการสอนบน Padlet.
วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ปีที่ 1 ฉบับที่ 2,
(กรกฎาคม–ธันวาคม) : 61-66.