การบริหารงานบุคคลของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอ ในกลุ่มท่าจีนถิ่นแม่กลอง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษา 1) ระดับการบริหารงานบุคคลของศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอในกลุ่มท่าจีนถิ่นแม่กลอง 2) เปรียบเทียบการบริหารงานบุคคลของศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอในกลุ่มท่าจีนถิ่นแม่กลอง จ าแนกตามสถานภาพส่วนบุคคล ขนาดของศูนย์ ศูนย์ดีเด่น และ 3) แนวทางการพัฒนาการบริหารงานบุคคลของศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอในกลุ่มท่าจีนถิ่นแม่กลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย ผู้บริหารศูนย์และครูผู้สอนบุคลากรของศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอกลุ่มท่าจีนถิ่นแม่กลอง จ านวน ทั้งสิ้น 265 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น ตามสัดส่วน และกลุ่มที่ 2 ประกอบด้วยผู้ที่ตอบแบบสัมภาษณ์ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง จ านวน 12 คน เป็นผู้บริหาร จ านวน 4 คน ครูผู้สอน และบุคลากร จ านวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ส าหรับข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ใช้การวิเคราะห์ เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับการบริหารงานบุคคลของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากโดยเรียงล าดับค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อยประกอบด้วย 1) ด้านการพัฒนาบุคลากร 2) ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน 3) ด้านการสรรหาบุคลากร 4) ด้านการธ ารงรักษาบุคลากร 5) ด้านการวางแผน อัตราก าลัง และ 6) ด้านการพ้นออกจากงานตามล าดับ 2. การบริหารงานบุคคลของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอ ในกลุ่มท่าจีนถิ่นแม่กลอง เมื่อจ าแนกตามขนาดของศูนย์ และศูนย์ดีเด่นแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .05 ระหว่างศูนย์ดีเด่นระดับจังหวัด กับระดับประเทศ ส่วนสถานภาพส่วนบุคคลไม่แตกต่างกัน
Article Details
References
32 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 30
จรวยพร ธรณินทร์. กศน. ยุคใหม่ ปี 2551 ปฏิรูปงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. กรุงเทพฯ : รังษีการพิมพ์, 2551. ชนิตา เมืองเผือก. ศึกษาระบบการจัดการทรัพยากรบุคคลส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย (ส านักงาน กศน.). วิทยานพินธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย, 2555. บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2553. บุญสืบ เทียมหยิน. ปัจจัยที่สง่ผลต่อสมรรถนะการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษา ที่เปิดสอนระดบัมัธยมศึกษา สา นักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2. วิทยานพินธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2553. พระราชบัญญตัิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ, 2545. พิชิต สุดโต. การศึกษาสภาพการบริหารงานบุคคลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานตามความคิดเห็นของผู้บริหาร และครูผู้สอน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏร าไพพรรณี, 2555. ภัควี พิทาค า. สภาพการบริหารงานบุคคลในโรงเรียนจัดตั้งใหม่สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัด เชียงราย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยแมฟู่าหลวง, 2556. สมนึก บุญใหญ่. การพัฒนารูปแบบการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาล ในสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลยัราชภัฏ บุรีรัมย์, 2556. ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. ก้าวย่างต่อไปของ กศน. กรุงเทพฯ : ชุมพร พริ้นท์ แอนด์ ดีไซน์, 2551. ________. รายงผลการด าเนินงานปีงบประมาณ 2553. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2553. ส านักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน. แผนยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยเพื่อการเรียนตลอดชีวิต พ.ศ.2549-2551. กรุงเทพฯ : ส านักบริหารงานการศึกษา นอกโรงเรียน, 2549. ________. ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปีงบประมาณ 2551. กรุงเทพฯ : ส านักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน, 2549. อัญชลี หมุดเมือง. การศึกษาผลการบริหารงานตามบทบาทและอำนาจหน้าที่ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอในจังหวัดสระบุร.ี วิทยานิพนธค์รุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยัราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, 2553.