การบริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอ เพื่อการเป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษาตลอดชีวิต

Main Article Content

สาคร ช่วยดำรงค์
ประเสริฐ อินทรักษ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ทราบองค์ประกอบการบริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเพี่อการเป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษาตลอดชีวิต และ 2) ยืนยันองค์ประกอบ การบริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเพี่อการเป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษา ตลอดชีวิตผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งได้แก่ผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์และเชี่ยวชาญด้านการบริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จ านวน 19 ท่าน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง และท าการศึกษาด้วยเทคนิคเดลฟายและกลุ่มที่สอง ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญที่มี ความรู้ความสามารถด้านการบริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จ านวน 9 ท่าน ท าการศึกษาโดยการสนทนากลุ่มสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่าง ควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบการบริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อ าเภอเพี่อการเป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษาตลอดชีวิตประกอบด้วย 18 องค์ประกอบประกอบด้วย 1. การวางแผน 2. การบริหารจัดการงบประมาณ 3. การบริหารบุคลากร 4. การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 5. การบริหาร การใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. การนิเทศติดตามและรายงานผลการด าเนินงาน 7. การบริหารวิชาการ 8. การบริหารจัดการ 9. การบริหารการสร้างแรงจูงใจ 10. การใช้ทรัพยากรและแหล่งเรียนรู้ร่วมกัน 11. การจัดตั้ง ศูนย์กลางการประสานเครือข่าย 12. การจัดกระบวนการเรียนรู้ 13. การบริหารจัดการหลักสูตร 14. การจัดการ ด้านเศรษฐกิจพอเพียง 15. การประกันคุณภาพสถานศึกษา 16. การบริหารการเปลี่ยนแปลง 17. ควบคุมภายใน สถานศึกษา และ 18. การบริหารตามหลักธรรมาภิบาล 2. ผลการยืนยันองค์ประกอบการบริหารศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเพื่อการเป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษาตลอดชีวิตผู้เชี่ยวชาญ เห็นด้วยกับการบริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาอัธยาศัยอ าเภอเพื่อการเป็นศูนย์กลางการจัด การศึกษาตลอดชีวิต จ านวน 18 องค์ประกอบ องค์ประกอบที่มีความโดดเด่น มีความเข้มแข็งสามารถเสริม ยุทธศาสตร์ในการน าไปใช้ประโยชน์โดยสถานศึกษาควรให้ความส าคัญ คือ องค์ประกอบที่ 10 การใช้ทรัพยากร และแหล่งเรียนรู้ร่วมกัน องค์ประกอบที่ 11 การจัดตั้งศูนย์กลางการประสานเครือข่ายองค์ประกอบที่ 12 การจัด กระบวนการองค์ประกอบที่ 13 บริหารจัดการหลักสูตรองค์ประกอบที่ 14 การจัดการด้านเศรษฐกิจพอเพียง และองค์ประกอบที่ 18 การบริหารตามหลักธรรมาภิบาล

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Baksh. The Functions of the Executive. Cambridge : Harvard University, 1995. Jenkins. Master For Learning : How to Teach Adult at a Distance. London : Rutledge and Kagan Paul, 1981. Person. The evolution of Societies. Englewood Cuffs : Prentice-Hall, 1994. กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัตสิ่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ, 2551. กิตติธัชคงชะวัน. รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนและ เศรษฐกิจพอเพียง. วิทยานพินธ์ดษุฎีบัณฑติ มหาวทิยาลัยศลิปากร, 2553. คุรุชนวงการครู. พระราชบัญญตัิการศึกษาแห่งชาติ 2542 [online], accesses 25 September 2556. Available fromhttp://www.seal2thai.org/kru/kru012d.htm. จรวยพร ธรณินทร์. ทิศทาง กศน.ยุคใหม่ปี 2551 ชุดที่ 1 วิเคราะห์สถานการณ์และยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนงาน [online], accesses 25 september 2556. Available from : www.moe.go.th/charuaypon/works/ppt28_charuaypon.ppt
จันทร์พิมพ์ วงศป์ระชารัตน์. รปูแบบการนิเทศการศึกษาโดยกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานพินธ์ดษุฎีบัณฑติ มหาวทิยาลัยศลิปากร, 2556. จิรวรรณสุรเสียง. รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการบริหารการเปลี่ยนแปลงกับการศึกษาในทศวรรษ ที่สองของโรงเรียนประเภทศึกษาสงเคราะห์. วิทยานพินธ์ดษุฎีบัณฑิต มหาวิทยาลยัศิลปากร, 2556. จิราภาวิชาชาญ. ปัจจัยการบรหิารที่ส่งผลต่อการด าเนินงานประกันคุณภาพภายในของศูนย์บริการ การศึกษานอกโรงเรียนอ าเภอเขตภูมิภาคตะวันตก. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลยั ศิลปากร, 2550. ณัฐชยารัตน์ ชูมีวศนิ. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารกับการบริหารศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอ. วิทยานพินธ์ดษุฎีบัณฑติ มหาวิทยาลัยศลิปากร, 2552. ดวงจันทร์ วิรุณพนัธ์. การมีสว่นร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดส านักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยัขอนแก่น, 2555.
98 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

94


ธาดา อักษรชนื่. กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนโสตศึกษาของประเทศไทยในทศวรรษหน้า. วทิยานิพนธ์ดุษฎี บัณฑิต มหาวทิยาลัยศิลปากร, 2556. นวพน เกศาพร. แนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพิจิตร. วิทยานพินธ์ครุศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 2556. ปรีชา จนัทรมณี. ตัวบ่งชี้ความส าเร็จในการบริหารงานวิชาการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอ าเภอ. วิทยานิพนธด์ษุฎีบัณฑิต มหาวทิยาลัยศิลปากร, 2556. ปาน กิมปี. การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้การศึกษานอกโรงเรียนเพี่อการพึ่งตนเองของชุมชน. วิทยานพินธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540. พรจันทร์ พรศักดิ์กุล. รูปแบบกระบวนการงบประมาณของโรงเรียนที่บริหารงบประมาณแบบใชโ้รงเรียน เป็นฐานในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานพินธ์ดษุฎีบัณฑติ มหาวทิยาลัยศลิปากร, 2550. มาเรียม นิลพันธุ์ และคณะ. “การพัฒนาแนวทางประกอบการใช้กรอบแผนการจัดการศึกษาตลอดชีวิตมุ่ง สู่ ความเป็นเลิศดา้นอาชีพท้องถิ่น,” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเซีย ฉบับ สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ปีที่ 5, ฉบับที่ 1, 2558. รอฮาบา ยามา. การด าเนินงานตามกระบวนการบริหารการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของ ครูสังกัดส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปัตตานี. วิทยานพินธ์ครุศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา, 2556. รักชนก ค าวัจนงั. ภาระหน้าทกี่ารบริหารงานโรงเรียน 4 ฝ่าย. เข้าถึงเมื่อ 28 กรกฎาคม 2556. เข้าถึง ได้จาก http://www.kroobannok.com/54850 รัชดา คงคาหลวง. การศึกษาความต้องการและแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางการศึกษานอกระบบ โรงเรียนและการศึกษาตารมอัธยาศัยของบ้านหนังสือกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต จฬุาลงกรณ์มหาวทิยาลัย, 2550. ศรีพัชรา สิทธิก าจร แก้วพิจิตร. การใช้หลักธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลยัศิลปากร, 2551. สุธาทิพย์ ตรีศร. การศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยในทศวรรษหน้า. วิทยานพินธ์การศึกษา มหาบัณฑิต มหาวทิยาลัยบูรพา,2543. สุภา เจียมพุก. แรงจูงใจของครูกับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1. วิทยานพินธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 2554.