การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดอย่างมีวิจารณญาณและความฉลาด ทางอารมณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการจัดการเรียนรู้ด้วย กลุ่มร่วมมือแบบจิกซอว์และการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จ าลอง

Main Article Content

วรางคณา พรหมราช
ธนดล ภูสีฤทธิ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ (1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบจิกซอว์ และเเผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จ าลอง วิชาอาเซียนศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ความฉลาดทางอารมณ์ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน กลุ่มที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบจิกซอว์และการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จ าลอง และ (3) เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนระหว่างกลุ่มที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบจิกซอว์ และการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จ าลอง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ธวัชบุรี อ าเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด จ านวน 65 คน ประกอบด้วย กลุ่มที่ 1 จ านวน 36 คน จัดการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือ แบบจิ๊กซอว์ กลุ่มที่ 2 จ านวน 29 คน จัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จ าลอง ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบจิ๊กซอว์ และแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จ าลอง กลุ่มละ 12 แผนๆ ละ 2 ชั่วโมง รวมเวลาเรียนกลุ่มละ 24 ชั่วโมง (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชนิดเลือกตอบ จ านวน 30 ข้อ มีค่าอ านาจจ าแนก (B) ตั้งแต่ 0.32–0.97 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (rcc) เท่ากับ 0.90 (3) แบบทดสอบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ชนิดเลือกตอบ จ านวน 30 ข้อ มีค่าความยาก (p) ตั้งแต่ 0.23–0.78 ค่าอ านาจจ าแนก (r) ตั้งแต่ 0.28–0.90 มีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (KR-20) เท่ากับ 0.85 (4) แบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียน จ านวน 30 ข้อ มีค่าอ านาจจ าแนก (rxy) ตั้งแต่ 0.28–0.78 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (α) เท่ากับ 0.87 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และทดสอบสมมุติฐานใช้ t-test (Dependent Samples) และ F-Test (One-way MANOVA)


ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบจิกซอว์ และเเผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์ จ าลอง วิชาอาเซียนศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.69/79.17 และ 82.39/81.84 ตามล าดับ ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่ก าหนดไว้ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบจิกซอว์และ การจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จ าลอง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ความฉลาด ทางอารมณ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จ าลอง มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบจิกซอว์ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่นักเรียนทั้งสองกลุ่มมีความฉลาดทางอารมณ์ไม่แตกต่างกัน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมชน สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551. กลอยใจ มุกดา. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยกลุ่มร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2553. จงจิต ถนัดค้า. การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง ทวีป อเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การเรียนรู้แบบจิ๊กซอว์. วิทยานพินธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2553. ณัฐชา ศรีหล้าภูเขียว. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาระเศรษฐศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสตรและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบจิกซอว์. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2553. ดวงกมล สินเพ็ง. การพัฒนาผู้เรียนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ : การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง : กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : วี. พริ้นท์ (1991), 2553. ทิศนา แขมมณี. รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั, 2552. _________. ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดการกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ส านกัพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550. นิราศ จันทรจิตร. ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาหลักสตูรคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 กับจุดมุ่งหมาย ของหลักสูตรคณิตศาสตร์ประถมศึกษา พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2550. เนตรา มูลดวง. การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จ าลองกลุ่มสาระการเรยีนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเรื่องวิถีประชาธิปไตย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. การค้นคว้าแบบอิสระการศึกษา มหาบัณฑิต มหาวทิยาลัยมหาสารคาม, 2550. ปฐมพงษ์ บานฤทัย. การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิกซอว์ เรื่อง การเมืองการปกครองสมัยอยุธยา กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต มหาวทิยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 2550. พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ : แนวคิดวิธีและเทคนิคการสอน 2. กรุงเทพฯ : สถาบนัพัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2544.
147ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2560)
141


มาลินี เชื่อมกลาง. การจัดกจิกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือโดยใช้สถานการณ์จ าลองเรื่องกฎหมาย ส าคัญในประเทศไทยส าหรับนกัเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. การค้นคว้าแบบอิสระการศึกษา มหาบัณฑิต มหาวทิยาลัยมหาสารคาม, 2553. รุ่งทิวา วิริยะสถิต. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธทิ์างการเรียน เรื่อง หน้าที่ประชาชนไทย การคิดอย่างมี วิจารณญาณ และความฉลาดทางอารมณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการจดั การเรียนรู้ตามแนวทฤษฎีพหุปัญญากับการจดัการเรียนรู้แบบจิกซอว์. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต มหาวทิยาลัยมหาสารคาม, 2552. ลักขณา ศรีมามาศ. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิดวิเคราะห์และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธขิ์อง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดใชส้ถานการณ์จ าลองและการจัด การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2555. วิเวก บุตรโท. การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนแบบจิกซอว์ เรื่องพุทฑประวัติและสาวก กลุ่มสาสระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2549. ศิริมา พุ่มทิพย์. การเปรียบเทยีบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อการเรียน วิชา พระพุทธศาสนา เรื่อง อริยสัจ 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างการจัดการเรียนรู้ แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคจิกซอว์ 2 กับการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา. วทิยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต มหาวทิยาลัยมหาสารคาม, 2552. ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ฐาน. แนวทางการบรหิารหลักสูตรและการเรียนการสอนตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ส านักวชิาการ และมาตรฐานการศึกษา, 2549. เหรียญทอง สุดสังข์. การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่องคุณธรรม จริยธรรมกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมระหว่างการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ปญัหาเป็นฐานและโดยใช้สถานการณ์จ าลอง. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลยัมหาสารคาม, 2550. อรนุช ภูมิเหล่าแจ้ง. “การพัฒนาครูดา้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานในโรงเรียนฟูาแดดสูงยาง วิทยาคาร,” วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต. 14, 2(มกราคม-พฤษภาคม 2557) : 40-53, 2557. อรุณวรรณ แก้วกล้า. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จ าลองเรื่องวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. การค้นคว้าแบบอิสระการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2554. Brown, H. Douglas. Teaching by Principles : An Interactive Approach to Language Pedagogy. 3rd ed. New York : Pearson Education, 2007. Dick, Walter, Lou Carey and James O. Carey. The Systematic Design of Instruction. 7th ed. Upper Saddle River, NJ : Pearson Education, 2009. Hall, Gene E., Linda F. Quinn; and Donna M. Gollnick. Introduction to Teaching : Making A Difference in Student Learning. Thousand Oaks CA : SAGE Publication, 2014.
148 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

142


Henson, Kenneth T. Methods and Strategies for Teaching in secondary and Middle Schools. 3rd ed. White Plains, N.Y. : Longman, 1996. Jones, K. Simulations : A Handbook for Teachers and Trainers. 3rd ed. East Brunswick, NJ : Nichols, 1995. Joyce, Bruce, Marsha Weil and Emily Calhoun. Models of Teaching. Boston : Pearson Education, 2011. Larson, Bruce E. and Keiper Timothy A. Instructional Strategies for Middle and Secondary Social Studies : Methods, Assessment, and Classroom Management. New York : Routledge, 2011. Morrison, Gray R. Ross, Steven M. Kalman Howard K. and Kemp Jerrold. Designing Effective Instruction. 6th ed. Hobken : John Wiley and Sons, 2011. Nesbitt, W. A. Simulation Games for the Social Studies Classroom. New York : Foreign Policy Education, 1971. Niemi, Jeffrey. An Examination of Cooperative Learning Models and Achievement in Middle and Secondary Level Social Studies. Thesis for The Degree Doctor of Education. Ed. D. Walden University, Minnesota, United States, 2009. Ong and Yue. Teaching Strategies that Promote Thinking : Model and Curriculum Approaches. Singapore : McGraw–Hill, 2006. Savage, Tom V. and Armstrong David G. Effective Teaching in Elementary Social Studies. 5th ed. New Jersey : Pearson Education, 2004. Siegal, C., et al. “The construction of community indexes of mental health and social and mental well-being and their application to New York City,” Evaluation and Program Planning. 23(January 2000) : 315-327. Slavin, R. E. Cooperative Learning : Theory, Research and Practice. 2nd ed. Boston : Allyn and Bacon, 1995. Slavin, Robert E and others. “Cooperative Learning Models for the 3 R’S,” Educational Leadership. 47,4(January 1990) : 22-28.