ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อ านาจของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นทก่ีารศึกษาประถมศึกษากระบี่
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้อ านาจของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาประสิทธิผล ของสถานศึกษา และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อ านาจของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของ สถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ ทั้งหมดจ านวน 152 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน และค่าสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1. การใช้อ านาจของผู้บริหารสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงตามล าดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ด้านอ านาจจากการอ้างถึง ด้านอ านาจจากความเป็นผู้เชี่ยวชาญ ด้านอ านาจตามกฎหมาย ด้านอ านาจ จากการให้รางวัล ด้านอ านาจจากการบังคับขู่เข็ญ ด้านอ านาจจากการได้รับหรือการเป็นเจ้าของ และด้านอ านาจ จากการเชื่อมโยง มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด 2. ประสิทธิผลของสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงตามล าดับค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยนและพัฒนาสถานศึกษา ด้านความสามารถในการแก้ปัญหาภายใน สถานศึกษา ด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง และด้านความสามารถ ในการพัฒนานักเรียน ให้มีทัศนคติทางบวก มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด 3. การใช้อ านาจของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่
Article Details
References
180 วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
174
ธีระ เงินแก้ว. ความสัมพนัธ์ระหว่างการใช้อ านาจของผู้บริหารสถานศึกษากบัประสิทธิผลของสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต มหาวทิยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 2553. ธีระ รุญเจริญ. ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศกึษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : ข้าวฟุาง, 2550. ประกายเดือน ทา้วกัลยา. การใช้อ านาจของผู้บริหารที่มีผลตอ่ขวัญก าลังใจใจการท างานของครูในโรงเรียน อ าเภอเมือง สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2557. พรพิมล ช านาญพล. การใช้อ านาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดเทศบาลเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี. ปริญญานพินธ์การศึกษามหาบณัฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา, 2556. พรสุดา พรหมกุล. ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อ านาจของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยัราชภัฏราชนครินทร์, 2554. ภัคญดา คงสมัย. การใช้อ านาจของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองล าพูน. การค้นคว้า แบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2555. วงเดือน ฉายปรีชา. การใช้อ านาจการบริหารสถานศึกษา สังกดักองการศึกษาเทศบาลนครแหลมฉบัง จังหวัดชลบุร.ี ปริญญานิพนธก์ารศึกษามหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555. สงวนพงศ์ ชวนชม. การบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : อี.ที.พับลิชซงิ่, 2557. สัมมา รธนิธย์. หลัก ทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. พมิพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : ข้าวฟุาง, 2553. Best, J. W. Research in Education. Boston : Allyn and Bacon, 1993. Blanchard, K. H. and Johnson D. E. Management of Organizational Behavior : Leading Human Resources. New Jersey : Prentice Hall, 2001. Hoy, W. K. and Miskel C.G. Educational Administration Theory, Research, and Practice. 7th ed. The United State : McGraw-Hill, 2001. Krejcie, R. V. and Morgan W. D. “Determining Sample size for Research Activities,” Journal of Education and Psychological Measurement. 30,3(January 1993) : 154-155.