ความสัมพันธ์ด้านความมั่นคงระหว่างสหรัฐอเมริกากับสิงคโปร์ในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ต้องการอธิบายถึง ปัจจัยที่ทำให้สิงคโปร์กำหนดนโยบายต่างประเทศในการพัฒนาความสัมพันธ์กับมหาอำนาจในด้านความมั่นคง โดยให้ความสำคัญกับสหรัฐอเมริกามากกว่าจีนทั้ง ๆ ที่ประชากรส่วนใหญ่ของสิงคโปร์เป็นเชื้อชาติจีน ยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นการพัฒนาความสัมพันธ์ที่สวนทางกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคเดียวกันที่ลดระดับความสัมพันธ์ทางการทหารกับสหรัฐอเมริกาลงภายหลังยุคสงครามเย็น ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้พบว่า แนวความคิดความรู้สึกไม่มั่นคงของสิงคโปร์ อันเป็นผลสืบเนื่องจากจุดอ่อนเชิงโครงสร้างที่สำคัญ 3 ประการ ได้แก่ ขนาดและที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ ความแตกต่างของเชื้อชาติ และการขาดแคลนทรัพยากรที่จำเป็น กอปรกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดมโนทัศน์ของความไม่มั่นคงขึ้น ได้แก่ ภัยคุกคามจากการก่อการร้ายภายหลังเหตุการณ์ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 เป็นปัจจัยสำคัญในการกำหนดนโยบายด้านความมั่งคงของสิงคโปร์ในศตวรรษที่ 21
Article Details
References
Singapore Department of Statistics, “Land Area (As At December),” https://www.singstat.gov.sg/find-data/search-by-theme/society/environment/latest-data (accessed 15 March 2022)
Singapore Department of Statistics, “Population and Population Structure,” https://www.singstat.gov.sg/find-data/search-by-theme/population/population-and-population-structure/latest-data (accessed 15 March 2022)
Singapore Department of Statistics, “Population and Population Structure,” https://www.singstat.gov.sg/find-data/search-by-theme/population/population-and-population-structure/latest-data (accessed 15 March 2022)
GDP Per Capita ปี ค.ศ. 2020 https://data.worldbank.org/indicator/NY.GDP.PCAP.CD
คำว่าอินเดียไกล สะท้อนให้เห็นว่าภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก่อนช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นที่รู้จักน้อยมาก การเรียกชื่อหรือบรรยายที่ตั้งในขณะนั้น ยังคงต้องอ้างอิงกับอินเดียเป็นหลัก
Sir Thomas Stamford Bingley Raffles (1781–1826) เป็นรองข้าหลวงชวา ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้มีบทบาทมากที่สุดผู้หนึ่งในการพัฒนาจักรวรรดิอังกฤษในตะวันออกไกล เขาใช้ชีวิตอยู่ในสิงคโปร์เพียงช่วงเวลาสั้น ๆ แต่ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้ก่อตั้งสิงคโปร์
William Farquhar (1774–1839) วิศวกรชาวสก็อตแลนด์ที่เข้ามาทำงานให้บริษัทอีสต์อินเดียของอังกฤษ เขาถือเป็นชาวสหราชอาณาจักรคนแรกที่ได้อาศัยในสิงคโปร์และเป็นผู้บัญชาการอาณานิคมสิงคโปร์ช่วงค.ศ. 1819-1823 และริเริ่มพัฒนาสิงคโปร์ให้เป็นเมืองท่าแห่งสำคัญในภูมิภาคเอเชีย
ฮอลล์, ดี.จี.อี., ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้: สุวรรณภูมิ-อุษาคเนย์ภาคพิสดาร 2, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 2549), 479.
ฮอลล์, อ้างแล้ว, 750.
Akashi, Yoji. 1970. Japanese Policy Towards the Malayan Chinese 1941-1945. Journal of Southeast Asian Studies, 1(2), 61-89.
ฮอลล์, ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้: สุวรรณภูมิ-อุษาคเนย์ภาคพิสดาร 2, 830.
เพิ่งอ้าง.
เพ็ชรี สุมิตร, ประวัติศาสตร์สิงคโปร์ (กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์,2557), 220.
โคริน เฟื่องเกษม, สิงคโปร์ภายใต้สามผู้นำ, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลาฯ,2554), 215.
Leifer, Michael. 2000. Singapore’s Foreign Policy Coping with vulnerability, 1-2.
Mohamad, Kadir. Malaysia Singapore fifty years of contentions 1965-2015. Selangor: The Other Press Sdn. Bhd., 252.
Derek da Cunha, Singapore in the New Millennium Challenges Facing the City-State, (Singapore: Institute of Southeast Asian Studies, 2002), 133.
ibid.,134.
ibid.,135-136.
ibid.,140-141.
ibid.,141-145.
แนวคิด “เสน่ห์เชิงรุก (Charm Offensive)” โดยมีวัตถุประสงค์แสดงท่าทีให้ประเทศต่าง ๆ เข้าใจว่าจีนมิใช่ภัยคุกคามต่อความมั่นคงของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โปรดดู ยศ สันตสมบัติ, มังกรหลากสี: การขยายอิทธิพลเหนือดินแดนและพันธกิจเผยแผ่อารยธรรมในอุษาคเนย์. (เชียงใหม่ : ศูนย์ศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาย่างอย่างยั่งยืน, 2557)
Tight Alliances คือ ระดับของความร่วมมือด้านความมั่นคงที่มีการบรรลุสนธิสัญญาอย่างเป็นทางการและลึกซึ้งระหว่างประเทศมหาอำนาจและประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งมีการจัดตั้งความร่วมมือทางด้านทหารและกลาโหม Tight Alliances ส่วนใหญ่มีข้อตกลงร่วมกัน รวมทั้งมีผลผูกพันตามสนธิสัญญาภายใต้กฎหมายและอำนาจศาล อย่างไรก็ตาม Tight Alliances อาจมีลักษณะที่ไม่เป็นทางการแต่มีความร่วมมือระหว่างกัน โดยการแลกเปลี่ยนข่าวสารจากหน่วยข่าวกรอง การทหาร เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับเวียดนามระหวางช่วงสงครามเวียดนาม เป็นต้น
Limited Alignment คือ ระดับของความร่วมมือด้านความมั่นคงที่มีข้อตกลงร่วมกันในระดับที่ต่ำกว่า Tight Alliances ระหว่างประเทศมหาอำนาจและประเทศกำลังพัฒนา เช่น ข้อตกลงการขายอาวุธ ข้อตกลงร่วมฝึกรบ และข้อตกลงที่เกี่ยวกับการช่วยเหลือทางการทหาร โดย Limited Alignment เป็นที่รับรู้อย่างเปิดเผย อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่เกิดวิกฤตการณ์ประเทศมหาอำนาจอีกฝ่ายหนึ่งมิได้เข้าร่วมรบ นอกจากนี้ Limited Alignment ไม่ได้ให้อภิสิทธิ์แก่มหาอำนาจในการใช้พื้นที่ตั้งฐานทัพ อนุญาตแต่เพียงการใช้เป็นพื้นที่ในการอำนวยความสะดวกให้แก่กองทัพเท่านั้น
Mohamad, Malaysia Singapore fifty years of contentions 1965-2015, 253.
Leifer, Singapore’s Foreign Policy: Coping with vulnerability, 101.
See Seng Tan, “Facilitating the US Rebalance: Challenges and Prospects for Singapore as America’s Security Partner,” Security Challenges, Vol.12, No.3 (2016), 23-24.
Emma Chanlett-Avery and Ben Dolven, “Singapore: Background and U.S. Relations”, Congressional Research Service (July 2016) https://crsreports.congress.gov/product/pdf/R/R44127/6 (accessed April 2022).
เหตุการณ์วินาศกรรมอาคารเวิลด์ เทรด เซ็นเตอร์ (World Trade Center) ศูนย์กลางการค้าขนาดใหญ่และอาคารเพนทากอน (Pentagon) ศูนย์การบังคับบัญชาการด้านทหารของสหรัฐฯ โดยการขับเครื่องบินพุ่งชนอาคารทั้งสองทำให้อาคารทั้งสองและสิ่งก่อสร้างใกล้เคียงได้รับความเสียหายอย่างหนัก รวมทั้งการเสียชีวิตและบาดเจ็บของประชาชนอีกจำนวนมาก โดยมีกลุ่มอัลไคดา (Al Qaeda) เป็นกลุ่มผู้ต้องสงสัยเบื้องหลังเหตุการณ์ดังกล่าว
Anthony L. Smith, “Singapore and the United States 2004-2005: Steadfast Friends”, Asia-Pacific Center for Security Studies, Special Assessment (February 2005), 3.
th Anniversary of ISD’s Operations Against Jemaah Islamiyah in Singapore.
Anthony L. Smith, Singapore, and the United States 2004-2005: Steadfast Friends, Cited, 3.
The Fight Against Terror: Singapore’s National Security Strategy, 2004.
Emma Chanlett-Avery, “Singapore: Background and U.S. Relations”, Congressional Research Service (December 2008), https://apps.dtic.mil/sti/pdfs/ADA492975.pdf (accessed April 2022), 5.
See Seng Tan, Facilitating the US Rebalance: Challenges and Prospects for Singapore as America’s Security Partner, Cited, 26.
Emma Chanlett-Avery, Singapore: Background and U.S. Relations, Cited, 5.
Emma Chanlett-Avery and Ben Dolven, Singapore: Background and U.S. Relations, Cited, 4.
Lynn Kuok, “The U.S.-Singapore Partnership: A Critical Element of U.S. Engagement and Stability in the Asia-Pacific,” Order from Chaos Asian Alliances Working Paper Series, Paper 6 (July 2016), 5.
See Seng Tan, Facilitating the US Rebalance: Challenges and Prospects for Singapore as America’s Security Partner, Cited, 26.
Ibid, 27.
Prashanth Parameswaren, “Strengthening US-Singapore Strategic Partnership: Opportunities and Challenges,” RSIS Commentaries, No.201 (August 2016), https://dr.ntu.edu.sg/handle/10356/82130, (accessed 14 March 2022)
David Adelman, “The US-Singapore Strategic Partnership: Bilateral Relations Move Up a Weight Class,” The Ambassadors Review, (Spring 2012), 11.
See Seng Tan, Facilitating the US Rebalance: Challenges and Prospects for Singapore as America’s Security Partner, Cited, 28.
การจัดประชุมแชงกีล่า The IISS Asia Security Summit: The Shangri-La Dialogue (SLD) เป็นการประชุมด้านความมั่นคงของเอเชียซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002 โดยสิงคโปร์รับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม โดยมีรัฐมนตรีกลาโหม และนายทหารระดับสูงจาก 26 ประเทศ เข้าร่วมเพื่อถกแถลงปัญหาข้อห่วงใยด้านความมั่นคง อาทิเช่น ภัยคุกคามจากการก่อการร้ายข้ามชาติ ความขัดแย้งในทะเลจีนใต้ เป็นต้น
เรือรบยามฝั่ง (Littoral Combat Ship: LCS) เป็นเรือรบขนาดเล็กรุ่นใหม่ในของสหรัฐฯ (Class Freedom และ Independence) ขนาดเทียบเท่าเรือคอร์เวต (Corvette) ตามคำนิยามของกองทัพเรืออื่น ๆ ระวางขับน้ำประมาณ 500-2,000 ตัน ออกแบบให้มีขนาดเล็ก ใช้กำลังพลประจำเรือจำนวนน้อย เพื่อปฏิบัติการในเขตน้ำตื้น และมีความอ่อนตัวสูงในการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ รวมถึงการกวาดทุ่นระเบิด และต่อต้านเรือดำน้ำ
Emma Chanlett-Avery and Ben Dolven, Singapore: Background and U.S. Relations, Cited, 4
Lynn Kuok, The U.S.-Singapore Partnership: A Critical Element of U.S. Engagement and Stability in the Asia-Pacific, Cited, 6.
Emma Chanlett-Avery and Ben Dolven, “U.S.-Singapore Relations”, Congressional Research Service (April 2022) https://crsreports.congress.gov/product/pdf/IF10228 (accessed May 2022), 1.
Cai Dexian, “Hedging for Maximum Flexibility: Singapore’s Pragmatic Approach to Security Relations with the US and China,” Journal of Singapore Armed Forces, Vol.39, No.2, 1-12.
Emma Chanlett-Avery and Ben Dolven, U.S.-Singapore Relations, Cited, 1-2.
Roy, Denny. 2005. Southeast Asia and China: Balancing or Bandwagoning?. Contemporary Southeast Asia. 27(2), pp. 305-322.
Ibid., p. 310.
Gao Chuan, Ding Qilin Vice President Xi's visit to inject new momentum to China-Singapore ties: Chinese ambassador, http://news.xinhuanet.com/english2010/china/2010-11/13/c_13604791.htm
Leifer Michael, Singapore’s Foreign Policy Coping with Vulnerability. (New York: Routledge, 2000), 1-2.