นิเวศผัสสะกับการเป็นอยู่ของสิ่งที่ไม่ใช่วัตถุและการดำรงชีวิต: บทเรียนจากจีนโบราณในงานของ François Jullien

Main Article Content

Kengkij Kitirianglarp

บทคัดย่อ

ศาสตร์สมัยใหม่กำลังเผชิญหน้ากับความไม่ลงรอยอันเกิดจากวิกฤตของระบบนิเวศ อภิปรัชญาแบบตะวันตกซึ่งวางอยู่บนแนวคิดแบบธรรมชาตินิยม การมองมนุษย์เป็นศูนย์กลาง และการให้ความสำคัญกับดวงตาและการเห็นถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางทั้งจากนักวิทยาศาสตร์ นักสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ โดยเฉพาะในวิชามานุษยวิทยาซึ่งวิพากษ์ข้อจำกัดของอภิปรัชญาตะวันตก นักมานุษยวิทยาและนักสังคมศาสตร์จำนวนหนึ่งหาทางออกจากวิกฤตดังกล่าวโดนหันไปหาวิธีคิดหรือภววิทยาแบบอื่นๆ ที่ไม่ใช่ตะวันตก โดยเฉพาะภววิทยาของชนพื้นเมือง อย่างไรก็ดี ข้อจำกัดดังกล่าวจะถูกแก้ไขไม่ได้หากยังสมมติว่า “ธรรมชาติ” เป็นสภาวะที่ดำรงอยู่อย่างเป็นอภิปรัชญา บทความนี้ต้องการนำเสนอทางออกแบบอื่นๆ ที่เริ่มจากสมมติฐานว่า ทวิภาวะระหว่างธรรมชาติกับวัฒนธรรมไม่ใช่สิ่งที่ดำรงอยู่ หากแต่ผสานและกลืนเข้ามาด้วยกัน โดยอาศัยปรัชญาจีนโบราณในงานของ François Jullien ซึ่งเสนอมโนทัศน์การเป็นอยู่ของสิ่งที่ไม่ใช่วัตถุกับการดำรงชีวิตในฐานะทางออกจากอภิปรัชญาตะวันตก ผลที่ได้ก็คือ ข้อเสนอที่ว่าด้วย “นิเวศผัสสะ” ที่ไม่แยกระหว่างผัสสะต่างๆ ออกจากกัน และการปฏิเสธทวิภาวะระหว่างองค์ประธานกับวัตถุ รวมถึงการปฏิเสธการยอมรับให้ธรรมชาติกลายมาเป็นอภิปรัชยาที่ถูกตั้งคำถามไม่ได้

Article Details

บท
Articles

References

Claude Lévi-Strauss, The Savage Mind, (Chicago: University of Chicago Press, 1966), 269.

มาร์แชล ซาห์ลินส์, อัสดงคตมายา: ภาพลวงตาของโลกตะวันตกต่อธรรมชาติมนุษย์, แปลโดย เก่งกิจ กิติเรียงลาภ และพนา กันธา, (กรุงเทพฯ: Illuminations Editions, 2562).

Phillipe Descola, Beyond Nature and Culture, (Chicago and London: University of Chicago Press, 2013).

Jason W. Moore, Capitalism in the Web of Life: Ecology and the Accumulation of Capital, (London and New York: Verso, 2015).

David Abram, The Spell of Sensuous: Perception and Language in a More-Than-Human World, (New York: Vintage Books, 2017).

Bruno Latour, An Inquiry into Modes of Existence: An Anthropology of the Moderns, (Cambridge and London: Harvard University Press, 2013).

Isabelle Stengers, In Catastrophic Times: Resisting the Coming Barbarism, (Open Humanities Press, 2015).

Jason W. Moore ed., Anthropocene or Capitalocene?: Nature, History, and the Crisis of Capitalism (PM Press, 2016) และผู้เขียนอภิปรายแนวคิดของ Moore อย่างละเอียดใน เก่งกิจ กิติเรียงลาภ, “ยุคสมัยแห่งทุน: ข้อถกเถียงว่าด้วยมนุษยสมัยในโลกวิชาการมาร์กซิสต์” ใน เก่งกิจ กิติเรียงลาภ บก., Anthropocene: บทวิพากษ์มนุษย์และวิกฤตสิ่งแวดล้อมในยุคสมัยแห่งทุน, (กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2564), 111-144.

Eduardo Kohn, How Forests Think: Toward an Anthropology beyond the Human, (Berkeley, Los Angeles and London: University of California Press, 2013).

ดู Anna Tsing, Heather Swanson, Elaine Gan and Nils Bubandt eds., Arts of Living on a Damaged Planet, (Minneapolis and London: University of Minnesota Press, 2017).

Lorraine Daston and Peter Galison, Objectivity, (New York: Zone Books, 2010), 51.

ดูเพิ่มเติมข้อถกเถียงนี้ใน Tim Ingold and Cristian Simonetti, “Introducing Solid Fluids,” Theory, Culture & Society, 0(0) (2021), 1-27.

Lorraine Daston, Against Nature, (Cambridge and London: The MIT Press, 2019).

Lorraine Daston, Against Nature, Cited, 34-42.

ดู Lorraine Daston and Katharine Park, Wonders and the Order of Nature, (New York: Zone Books, 2001), 1150-1750.

Lorraine Daston and Peter Galison, Objectivity, Cited,19-27.

ผู้เขียนค่อนข้างเห็นด้วยเมื่อ Daston วิจารณ์ความพยายามของ Descola และ Eduardo Viveiros de Castro ที่จะทะลุข้ามกำแพงของวิธีคิดว่าด้วยมนุษย์เป็นศูนย์กลางด้วยการเสนอ “ภววิทยาแบบที่มนุษย์เป็นฐาน” หรือ anthropomorphism ที่ให้ความเป็นมนุษย์กับสิ่งอื่น ๆ ที่ไม่ใช่มนุษย์ว่าแท้จริงแล้ว วิธีคิดเช่นนี้ก็ยังติดอยู่ในกรอบของมนุษย์เป็นศูนย์กลางอยู่ดี เพียงแต่ยืดขยายความเป็นมนุษย์ออกไปนอกเหนือจากความเป็นโฮโมเซเปียนส์

ผู้เขียนอภิปรายถึงภววิทยาแบบแอมะซอนไว้ใน เก่งกิจ กิติเรียงลาภ, Perspective: ภววิทยาแบบมุมมองนิยมและความเป็นซับเจค, (กรุงเทพฯ: Illuminations Editions, 2563).; ดูกรณีของวิธีคิดของกะเหรี่ยงใน Pinkaew Luangaramsri, Redefining Nature: Karen Ecological Knowledge and the Challenge of the Modern Conservation Program, (Chiangmai: White Lotus Books, 2001).; กรณีของแอฟริกา ดู Kwasi Densu, “Omenala: Toward an African-Centered Ecophilosophy and Political Ecology,” Journal of Black Studies, 49(40), September 2018, 29052.; ดูวิธีคิดของเผ่ายาโนมาโมใน Davi Kopenawa and Bruce Albert, The Falling Sky: Words of Yanomami Shaman, (Cambridge and London: The Belknap Press of Harvard University Press, 2013). และงานที่ศึกษาวิธีคิดเชิงนิเวศของบาหลี ดู David Abram, The Spell of the Sensuous: Perception and Language in the More-Than-Human World, (New York: Vintage Books, 2017).

François Jullien, The Great Image Has No Form or On the Nonobject through Painting, (Chicago and London: University of Chicago Press, 2009).

François Jullien, The Great Image Has No Form, Cited, XV. และดู François Jullien, From Being to Living: a Euro-Chinese lexicon of thought, (London: SAGE, 2020).

Roderick Frazier Nash, The Rights to Nature: A History of Environmental Ethics, (Madison: University of Wisconsin Press, 1989).

ดู François Jullien, There Is No Such Thing as Cultural Identity, (Cambridge: Polity Press, 2021).

ดู François Jullien, The Silent Transformation, (London, New York and Calcutta: Seagull Books, 2011).

François Jullien, The Silent Transformation, Cited, 3.

François Jullien, The Silent Transformation, Cited, 5.

ดูเพิ่มเติมเรื่อง dwelling ใน Tim Ingold, The Perception of Environment: Essays on Livelihood, Dwelling and Skill, (New York and London: Routledge, 2001).

François Cheng, Empty and Full: The Language of Chinese Painting, (Boston and London: Shambhala, 1994). และดู Magdalena Kostova-Panayotova, “Vibration’s Resonance (François Cheng’s ‘Green Mountain, White Cloud: A Novel of Love in the Ming Dynasty’),” Orbis Linguarum, Volume 18, Issue 12 (July 2020), 79-84.

François Jullien, Living off Landscape: or the Unthought of in Reason, (London and New York: Rowman & Littlefield, 2018), 10-12.

François Jullien, The Philosophy of Living, (London, New York and Calcutta: Seagull Books, 2016).

François Jullien, The Philosophy of Living, Cited, 17.

François Jullien, The Philosophy of Living, Cited, 18-19. และดูที่ผู้เขียนอภิปรายประเด็นนี้ใน เก่งกิจ กิติเรียงลาภ, Future: ว่าด้วยเวลา ประวัติศาสตร์ และการเปลี่ยนแปลงสังคมในระบบทุนนิยมดิจิทัล, (กรุงเทพฯ: ศยาม, 2565).

Peter Zumthor, Atmosphere, (Basel, Boston and Berlin: Birkhäuser, 2006).; Juhani Pallasmaa, The Eye of the Skin: Architectures and the Senses, (West Sussex: John Wiley & Sons, 2012).

François Jullien, In Praise of Blandness: Proceeding from Chinese Thought and Aesthetics, (New York: Zone Books, 2008).

François Jullien, In Praise of Blandness, Cited, 49.

Elizabeth Kolbert, The Sixth Extinction: An Unnatural History, (Henry Holt and Company, 2014).

Paul Crutzen and E. F. Stoermer, “The Anthropocene” IGBP Newsletter, 41 (2000), 17-18.

James Lovelock, The Vanishing Face of Gaia, (New York: Basic Books, 2009).

Déborah Danowski and Eduardo Viveiros de Castro, The Ends of the World, (Cambridge and Malden: Polity Press, 2016).

ดูเพิ่มเติมใน Bruno Latour ed., Reset Modernity!, (Cambridge and London: The MIT Press, 2016).

Jason W. Moore, Capitalism in the Web of Life: Ecology and the Accumulation of Capital, (London and New York: Verso, 2015).