สำรวจสถานภาพความรู้เรื่อง “ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” ในปัจจุบัน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ต้องการทบทวนงานวิชาการที่ศึกษา“ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข” เพื่อทำความเข้าใจจุดร่วม-และจุดต่างของงานเหล่านั้น จากการสำรวจพบว่างานศึกษาต่าง ๆ มีความแตกต่างอย่างสำคัญในแง่จุดยืนและข้อเสนอทางการเมืองระหว่างกลุ่มงานที่วิพากษ์และกลุ่มงานแนวอนุรักษ์นิยม อย่างไรก็ดี งานทั้งหมดเห็นพ้องเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของ “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข” อย่างน้อย 6 ด้าน ผลจากการทบทวนวรรณกรรมเหล่านั้นทำให้ผู้เขียนสังเคราะห์ข้อเสนอเกี่ยวกับประเพณีการทำลายสถาบันแนวเสรีประชาธิปไตยอย่างสังเขป สิ่งนี้แสดงให้เห็นถึงความเหลื่อมล้ำทางอำนาจระหว่างสองสถาบัน (สถาบันพระมหากษัตริย์กับสถาบันประชาธิปไตย) แม้ว่าทั้งคู่จะเป็นองค์ประกอบที่ขาดไม่ได้ของระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข.
Article Details
References
The Matter, “เรากลับไปเป็นสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือเปล่า? คุยเรื่องเครือข่ายชนชั้นนำไทย กับ อาสา คำภา,” The Matter (เว็บไซต์), 19 พฤศจิกายน 2564, https://thematter.co/social/politics/ interviewasa-kampa/160727 (สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2564).
The Standard, “ธงชัย วินิจจะกูล เตือนหายนะเบื้องหน้าเกิดจากขวาสุดโต่ง-ผู้มีอำนาจไม่รับฟังประชาชน ชี้อย่าปิดประตูการ สนทนาความเห็นต่าง,” The Standard (เว็บไซต์), 17 พฤศจิกายน 2564, https://thestandard.co/thongchai-winichakul-tdri/ (สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2564).
The Standard, “ปริญญาชี้ คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ทำประชาชนสับสนเรื่องระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข,” The Standard (เว็บไซต์), 11 พฤศจิกายน 2564, https:// thestandard.co/prinya-thaewanarumitkul-opinion-about-constitutional-court-decision/ (สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2564).
มุนินทร์ พงศาปาน, “ศาลรัฐธรรมนูญกับการ พิทักษ์จารีตประเพณี: ‘ไม่มีคุณค่าทางจารีตประเพณีใดที่ดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ด้วยการกด
ทับสิทธิเสรีภาพของประชาชน’,” The 101 (เว็บไซต์), 24 พฤศจิกายน 2564, https://www.the101.world/the-role-of-the-constitutional-court/ (สืบค้นเมื่อ 26 พฤศจิกายน 2564).
กิตติศักดิ์ ปรกติ, “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข: ปกป้องปฏิรูป” (งานวันสถาปนาคณะรัฐศาสตร์ ครบรอบ 63 ปี, ณ ห้อง ศ.ทวี แรงขำ (ร.103) คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 14 มิถุนายน 2555, https://www.youtube.com/watch?v=zafW6pEZ3iA&t=2119s).
โอกาส เตพละกุล, เอกสารวิชาการส่วนบุคคล เรื่อง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กรุงเทพฯ: หลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 2 วิทยาลัยรัฐธรรมนูญ สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, 2556), https://www.constitutionalcourt.or.th/occ_web/ewt_dl_link.php?Nid=1354 (สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2564).
คำนูณ สิทธิสมาน, รายงานวิชาการส่วนบุคคล เรื่อง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กรุงเทพฯ: หลักสูตรการพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้งระดับสูง รุ่นที่ 1, สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2552), http://library.senate.go.th/document/Ext3468/3468438_0002.PDF. (สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2564).
เจษฎ์ โทณะวณิก, “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกับประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (1),” วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ปีที่ 43, ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560), 1-21.
“พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชกับประเพณีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (2),” วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ปีที่ 43, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560), 1-25.
The Standard, “ปิยบุตร ชี้ 5 ลักษณะ ‘การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข’ หวังหาทางออกร่วมกันอย่างถ้อยทีถ้อยอาศัย,” The Standard (เว็บไซต์), 16 สิงหาคม 2563, https://thestandard.co/ piyabutr-show-5-exit-modelsof-a-democracy-country-that-ruled-by-king/ (สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2564).
ประจักษ์ ก้องกีรติ, ประชาธิปไตย: หลากความหมาย หลายรูปแบบ, (กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2561).
David Collier and Steven Levitsky, “Democracy with Adjectives: Conceptual Innovation in Comparative Research,” World Politics, Vol. 49, No. 3 (April 1997), 430-451.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, “ความเป็นมาของ ‘ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข’ ในฐานะอุดมการณ์ราชการ,” กรุงเทพธุรกิ, 24 สิงหาคม 2539, จ 5.
ณัฐพล ใจจริง, ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ: ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556).
ศุภมิตร ปิติพัฒน์, จุดเริ่มต้นสถาปนา ‘การปกครองประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข’, (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2563), 11-12.
เกษียร เตชะพีระ, “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข: ที่มาและที่ไป,” ใน กิตติ ประเสริฐสุข (บก.), เมืองไทย 2 เสี่ยง: สภาพปัญหา แนวโน้มและทางออกวิกฤติการเมืองไทย, (กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554), 17.
ประเสริฐ ปัทมะสุคนธ, รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองป (2475-2517), (กรุงเทพฯ: กลุม่‘รัฐกิจเสรี’, 2517), 519-522.
ปรีดี พนมยงค์, “สุนทรพจน์ของนายปรีดี พนมยงค์ แสดงในสภาผู้แทนราษฎรวันที่ 7 พฤษภาคม 2489,” ใน วาณี พนมยงค์-สายประดิษฐ์,
(บก.) และ วิษณุ วรัญญู (บก. ฝ่ายวิชาการ), แนวความคิดประชาธิปไตยของปรีดี พนมยงค์, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิปรีดี พนมยงค์ และ โครงการ 60 ปีประชาธิปไตย, 2535), 260-262.
อาสา คำภา, ความเปลี่ยนแปลงของเครือข่ายชนชั้นนำไทย พ.ศ. 2495-2535, (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2562).
กิตติศักดิ์ สุจิตตารมย์, ทัศนะของสื่อหนังสือพิมพ์และปัญญาชนสาธารณะที่มีต่อสถานะและบทบาทของสถาบันกษัตริย์ ระหว่าง พ.ศ. 2535-2540, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2557).
Michael K. Connors, “Article of faith: The failure of royal liberalism in Thailand,” Journal of Contemporary Asia, Vol. 38, No.1 (February 2008), 143-165.
ธงชัย วินิจจะกูล, ประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์อยู่เหนือการเมือง, (นนทบุรี: ฟ้า เดียวกัน, 2556). โดยอยู่ในบทที่ 1, 3, 5 ตามลำดับ และอีกเรื่องปรากฏใน ธงชัย วินิจจะกูล, “บทที่ 4 ประชาธิปไตยแบบกษัตริย์นิยมของไทย: ประวัติ กลไกการทำงาน และภาวะวิกฤต,” แปลโดยธันวา วงศ์เสงี่ยม, ใน รัฐราชาชาติ, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2563), 101-131.
เกษียร เตชะพีระ, “คุมคำ คุมความหมาย คุมความคิด คุมคน,” มติชนสุดสัปดาห์, ปีที่ 35, ฉบับที่ 1794 (2-8 มกราคม 2558), 53.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, กรณี ร. 7 ทรงสละราชสมบัติ: การตีความและการสานต่อความหมายทางการเมือง, (กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2549), 2.
มารค ตามไท, “การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข,” ใน สันติสุข โสภณสิริ (บก.), วิถีสังคมไท สรรนิพนธ์ทางวิชาการเนื่องในวาระหนึ่งศตวรรษ ปรีดี พนมยงค์ ชุดที่ 2: ความคิดทางการเมืองการปกครอง, (กรุงเทพฯ: สถาบันปรีดีพนมยงค์, 2544), 21-47.
ไชยันต์ ไชยพร, ประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข บทวิเคราะห์มาตรา 7 จากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 ถึงรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน (จากมุมมองทางรัฐศาสตร์), (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2560).
เอกลักษณ์ ไชยภูมี, พินิจทฤษฎีการปกครองแบบผสมกับรัฐธรรมนูญไทย พ.ศ. 2475-2534, (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562).
ปฤณ เทพนรินทร์, “หน้าที่ทางการเมืองของงานเขียนพัฒนาการทางการเมืองกระแสหลัก,” รัฐศาสตร์สาร, ปีที่ 37, ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2559), 81-98.
Ann-Kristin Jonasson “Is Monarchy Compatible with Democracy? The Constitutional Framework and Royal Initiatives for Democracy
in Jordan,” in Elisabeth Özdalga and Sune Persson (eds.), Contested Sovereignties Government and Democracy in Middle Eastern and European Perspectives, (Istanbul: Swedish Research Institute in Istanbul, 2010), 163-181.
Alfred Stepan, Juan J.Linz, and Juli F. Minoves, “Democratic Parliamentary Monarchies,” Journal of Democracy, Vol. 25, No. 2 (April 2014), 35-51.
Juli F. Minoves, Monarchy, a Democratic Paradox: The Head of State in European Parliamentary Democracies, (Ph.D. dissertation, Yale University, 2011).
Carsten Anckar, “Constitutional monarchies and semi-constitutional monarchies: a global historical study, 1800–2017,” Contemporary Politics, Vol. 27, No.1 (2021), 23–40.
Jack Corbett, Wouter Veenendaal and Lhawang Ugyel, “Why Monarchy Persists in Small States: The Cases of Tonga, Bhutan and Liechtenstein,” Democratization, Vol. 24, No. 4 (2017), 689-706.
Marlene Jugl, “Country size and the survival of authoritarian monarchies: developing a new argument,” Democratization, Vol. 27, No. 2 (2020), 283-301.
สมชาย ปรีชาศิลปกุล, นี่คือปณิธานที่หาญมุ่ง: ข้อถกเถียงว่าด้วยสถาบันพระมหา-กษัตริย์ ในองค์กรจัดทำรัฐธรรมนูญของไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475-2500, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2561), 305-312.
เกษียร เตชะพีระ, “การเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของไทยในยุคหลังในหลวงภูมิพล,” new mandala (เว็บไซต์), 23 มกราคม 2562, https://www.newmandala.org/thailands-first-electionsin-the-post-bhumibol-era/ (สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2564).
เกษียร เตชะพีระ, “ระบอบนิรนาม (1),” มติชนสุดสัปดาห์, ปีที่ 40, ฉบับที่ 2048 (15-21 พฤศจิกายน 2562), 53.
เกษียร เตชะพีระ, “ระบอบนิรนาม (จบ),” มติชนสุดสัปดาห์, ปีที่ 40, ฉบับที่ 2049 (22-28 พฤศจิกายน 2562), 53.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์, “ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่ 1: “รัฐประหารเป็นเพียงระบบย่อยภายใต้ระบอบใหญ่ที่ตั้งชื่อไม่ได้”,” the101.world (เว็บไซต์), 9 มกราคม 2562, https://www.the101. world/worachet-interview-2019-01/ (สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2564).
นิธิ เอียวศรีวงศ์, “หน้าใหม่ของประวัติศาสตร์,” ประชาไท (เว็บไซต์), 29 กันยายน 2562, https://prachatai.com/journal/2019/09/84547 (สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2564).
ธงชัย วินิจจะกูล, “บทที่ 5 ล้มประชาธิปไตย,” แปลโดย ภัควดี วีระภาสพงษ์, ใน ประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์อยู่เหนือการเมือง: ว่าด้วยประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556), 74-114.
ณัฐพล ใจจริง, ขุนศึก ศักดินา และพญาอินทรี: การเมืองไทยภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา 2491-2500, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2563).
ศุภมิตร ปิติพัฒน์, จุดเริ่มต้นสถาปนา ‘การปกครองประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข’, (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2563).
ประจักษ์ ก้องกีรติ, และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ: การเมืองและวัฒนธรรมของนักศึกษาและปัญญาชนก่อน 14 ตุลาฯ, (กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2548), 521-537.
ประจักษ์ ก้องกีรติ, “มรดก 40 ปี 14 ตุลา,” ใน การเมืองวัฒนธรรมไทย: ว่าด้วยความทรงจำ/วาทกรรม/ อำนาจ, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2558), 255-269.
อาสา คำภา, ความเปลี่ยนแปลงของเครือข่ายชนชั้นนำไทย พ.ศ. 2495-2535, (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาประวัติศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2562).
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, “Mass Monarchy” ใน ชัยธวัช ตุลาธน (บก.), ย้ำยุค รุกสมัย เฉลิมฉลอง 40 ปี 14 ตุลา, (นนทบุรี: มูลนิธิวีรชน ประชาธิปไตย และ คณะกรรมการ 14 ตุลา เพื่อประชาธิปไตยสมบูรณ์, 2556), 107-118.
ธงชัย วินิจจะกูล, “บทที่ 3 ลัทธิคลั่งไคล้เจ้าของประเทศไทย: ความสำเร็จในอดีต กับภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออกในปัจจุบัน” แปลโดย ธันวา วงศ์เสงี่ยม, ใน รัฐราชาชาติ, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2563), 63-109.
วาด ระวี, “ฉันทามติภูมิพล จุดเริ่มต้นและการสิ้นสุด” ใน โอลด์รอยัลลิสต์ดาย, (กรุงเทพฯ: Shine Publishing House, 2563), 93-132.
ณัฐพล ใจจริง, “บทที่ 1 คว่ำปฏิวัติ โค่นคณะราษฎร การก่อตัวของ ‘ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข’,” ใน ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ: ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556), 3-63.
อิทธิเดช พระเพ็ชร, “ผ่านมาก็เพียงฝันไป: รัฐธรรมนูญกับความหมายและความเสื่อมคลาย ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย พ.ศ. 2475-2500,” วารสารสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 14, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561), 93-111.
ปฤณ เทพนรินทร์, ราชากับชาติ ในอุดมการณ์ราชาชาตินิยม: ที่สถิตของอำนาจอธิปไตยในช่วงวิกฤตเปลี่ยนผ่านทางการเมือง, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2555).
ประจักษ์ ก้องกีรติ, “มายาคติและการเมืองของนิทานสอนใจ ว่าด้วยความโง่ จน เจ็บ ของผู้เลือกตั้งชนบท,” ใน ประจักษ์ ก้องกีรติ (บก.), การเมืองว่าด้วยการเลือกตั้ง: วาทกรรมอำนาจและพลวัตชนบทไทย, (นนทบุรี : ฟ้าเดียวกัน, 2555), 3-41.
ปฤณ เทพนรินทร์, “หน้าที่ทางการเมืองของงานเขียนพัฒนาการทางการเมืองกระแสหลัก,” รัฐศาสตร์สาร, ปีที่ 37, ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2559), 81-98.
ประจักษ์ ก้องกีรติ (บก.), การเมืองว่าด้วยการเลือกตั้ง: วาทกรรม อำนาจและพลวัตชนบทไทย, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2555).
Michael Kelly Connors, Democracy and National Identity in Thailand, Rev. and updated ed. (Copenhagen: NIAS Press, 2011).
วิลเลียม เอ. คัลลาฮาน, “วาทกรรมเรื่องการซื้อเสียงและการปฏิรูปการเมืองในประเทศไทย,” แปลโดย ดาริน อินทร์เหมือน, ใน ประจักษ์ ก้องกีรติ (บก.), การเมืองว่าด้วยการเลือกตั้ง: วาทกรรม อำนาจและพลวัตชนบทไทย, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2555), 43-59.
จักรกริช สังขมณี, “ย้อนคิดว่าด้วยชีวิตทางการเมืองของชาวบ้าน: การเมืองในชนบทที่มากกว่าการเลือกตั้งและขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม,” วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, ปีที่ 30, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2554), 45-79.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล, รายงานการวิจัย การป้องกันและแก้ไขปัญหาการซื้อสิทธิขายเสียงในการเลือกตั้ง, (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554).
สิริพรรณ นกสวน สวัสดี, การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554 ศึกษาบทบาทพรรคการเมือง และพฤติกรรมและการตัดสินใจเลือกตั้งของประชาชนในสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง, (กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556).
“ภูมิทัศน์และการเมืองของการพัฒนาชนบทไทยร่วมสมัย” รายละเอียดงานที่ iLaw, “สัมมนา ‘ภูมิทัศน์และการเมืองของการพัฒนาชนบทไทยร่วมสมัย’,” iLaw (เว็บไซต์), 23 มิถุนายน 2554, https://ilaw.or.th/node/1044 (สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 เมษายน 2564).
วิภาวดี พันธุ์ยางน้อย, “ภูมิทัศน์ทางการเมืองของสังคมชนบทสมัยใหม่: ว่าด้วยการพัฒนา ความเหลื่อมล้ำ การเลือกตั้ง และวาทกรรมการซื้อสิทธิขายเสียง,” วารสารวิจัยสังคม, ปีที่ 36, ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2556), 95-137.
ชัยพงษ์ สำเนียง, “พลวัตการปกครองส่วนท้องถิ่นไทย: กับการขยายพื้นที่ทางการเมืองของประชาชน,” มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์, ปีที่ 2, ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557), 1-45.
iLaw, “สี่ปี คสช. ปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น กระจายอำนาจถอยหลัง ราชการแทรกแซงท้องถิ่น,” iLaw (เว็บไซต์), 16 พฤษภาคม 2561, https://ilaw.or.th/node/4809 (สืบค้นเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564).
หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ, “เลือกตั้งท้องถิ่น: ปรากฏการณ์ใหม่-ข้อมูล-สถิติน่าสนใจในศึกเลือกตั้ง อบจ. 63,” บีบีซีไทย (เว็บไซต์), 6 ธันวาคม 2563, https://www.bbc.com/thai/thailand-55186329 (สืบค้นเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2564).
วุฒิกร อินทวงศ์, กฎหมายพรรคการเมืองในประเทศไทย ศึกษาในเชิงประวัติศาสตร์, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชานิติศาสตร์ ภาควิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535).
วลิต กิตตินันทะศิลป์, การจัดตั้งพรรคการเมืองตามรัฐธรรมนูญฉบับแรกจนถึงฉบับปัจจุบัน, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชานิติศาสตร์ ภาควิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542).
จิรศักดิ์ ขำหรุ่น, พัฒนาการพรรคการเมืองไทยภายใต้พระราชบัญญัติพรรคการเมือง2498-2550, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการเมืองและการจัดการปกครองคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559).
วัลลียา ไชยศิริ, เสรีภาพในการจัดตั้งและการดำเนินกิจการของพรรคการเมือง, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชานิติศาสตร์, คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547).
ทิพสุดา ญาณาภิรัต,การยุบพรรคการเมือง: ศึกษากรณีคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในการยุบพรรคพลังประชาชน พรรคชาติไทย และพรรคมัชฌิมาธิปไตย, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,สาขาวิชาการปกครอง ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
.
ธงชัย วินิจจะกูล, “บทที่ 5 ล้มประชาธิปไตย,” แปลโดย ภัควดี วีระภาสพงษ์, ใน ประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์อยู่เหนือการเมือง: ว่าด้วยประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่, (นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2556), 92, 93 และ 97-108.
Yoshinori Nishizaki, Political authority and provincial identity in Thailand: The making of Banharn-buri, (Ithaca, N.Y. : Cornell University Press, 2011).
อาสา คำภา, ความเปลี่ยนแปลงของเครือข่ายชนชั้นนำไทย พ.ศ. 2495-2535, (วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2562).
Paul Chambers & Napisa Waitoolkiat, “The resilience of monarchised military in Thailand,” Journal of Contemporary Asia, Vol. 46, No. 3 (2016), 425-444.
Duncan McCargo, “Network monarchy and legitimacy crises in Thailand,” The Pacific Review, Vol. 18, No. 4 (2005), 499-519.
ชัชฎา กำลังแพทย์, พลวัตและการปรับตัวของรัฐราชการไทย: กรณีศึกษาเปรียบเทียบรัฐราชการสมัยสฤษดิ์และรัฐราชการสมัย คสช., (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2561).
อดินันท์ พรหมพันธ์ใจ, การเมืองไทยในสมัยพลเอก เปรม ติณสูลานนท์: การบริหารจัดการทางการเมือง (2523 -31), (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2558).
ธนบรรณ อู่ทองมาก, รัฐราชการไทยภายหลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2557, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560).
อาสา คำภา, “พลวัตสถาบันพระมหากษัตริย์เชิงเครือข่าย: ข้อสังเกตว่าด้วยความเปลี่ยนแปลงของเครือข่ายชนชั้นนำไทย พ.ศ. 2495-2535,” วารสารไทยคดีศึกษา, ปีที่ 15, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2561), 41-88.
ธนาพล อิ๋วสกุล และ ชัยธวัช ตุลาธน, “ใครเป็นใครในองคมนตรีแห่งระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข,” ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 13, ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2558), 51-69.
ธนาพล อิ๋วสกุล, “ภูมิหลังองคมนตรีใต้พระบรมโพธิสมภาร,” ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 13, ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2558), 70-76.
โกวิทย์ วงศ์สุรวัฒน์, “วุฒิสภาไทย: รากฐานที่มาและภารกิจ,” วารสารสถาบันพระปกเกล้า, ปีที่ 3, ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2548), https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244787.
กร กาญจนพัฒน์, สภาที่สองในประวัติศาสตร์รัฐธรรมนูญไทย, (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556).
ธนาพล อิ๋วสกุล, “วุฒิสภา: ป้อมปราการของระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข,” ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2558), 152-201.
สมชาย ปรีชาศิลปกุล, “เมื่อองค์กรอิสระกลายเป็นภาระของประชาธิปไตย,” The 101.world (เว็บไซต์), 16 มกราคม2562, https://www.the101.world/when-constitutional-organizations-become-democracy-burden/ (สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2564).
iLaw, “ ‘คุ้มกัน คสช.-จัดการฝ่ายตรงข้าม’ ผลงานแห่งปีขององค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ,” iLaw (เว็บไซต์), 30 ธันวาคม 2563, https://www.ilaw.or.th/node/5806 (สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2564).
iLaw, “บทบาทและสถานะ ‘ศาลรัฐธรรมนูญ’ หลังการรัฐประหาร,” iLaw (เว็บไซต์), 18 กันยายน 2562, https://ilaw.or.th/node/5385 (สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2564).
สมบัติ จันทรวงศ์, “ประชาธิปไตยไทย ปรัชญาและความเป็นจริง,” ใน กิตติ ประเสริฐสุข (บก.), นารี-นาวา-ประชา-รัฐ รวมบทความสัมมนาประจำปี 2555 คณะรัฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์, (กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), 11-89.
ภูริ ฟูวงศ์เจริญ, “สถาบันปรปักษ์เสียงข้างมาก: การออกแบบระบบการเมืองเพื่อเสถียรภาพของประชาธิปไตยในระยะเปลี่ยนผ่าน,” วารสารสถาบันพระปกเกล้า, ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2558), 48-71.
เอกสิทธิ์ หนุนภักดี, “ระบอบประชาธิปไตยอันเป็นปฏิปักษ์กับเสียงข้างมาก,” วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, ปีที่ 8, ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2562), 69-90.
หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ, “สถาบันกษัตริย์: ไชยันต์ ไชยพร จาก “มวลชนพันธมิตรฯ” สู่หัวหน้าทีมวิจัยเรื่องมวลชนในยุค ร. 9,” บีบีซี ไทย (เว็บไซต์), 13 กุมภาพันธ์ 2563,https://www.bbc.com/thai/thailand-56036510 (สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2564).