กลวิธีทางภาษาที่หนังสือพิมพ์ไทยใช้ในการนำเสนอกลุ่มชาติพันธุ์โรฮีนจา

Main Article Content

กัญชลิกา ตรีกลางดอน
ศิริพร ปัญญาเมธีกุล

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษากลวิธีทางภาษาที่หนังสือพิมพ์ไทยใช้ในการนำเสนอกลุ่มชาติพันธุ์โรฮีนจา โดยศึกษาจากการรายงานข่าวชาวโรฮีนจาจากหนังสือพิมพ์ 4 รายชื่อ คือ ไทยรัฐ เดลินิวส์ ข่าวสด และคมชัดลึก เป็นการวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวทางการศึกษาโครงสร้างระดับจุลภาคของฟาน เดค (Van Dijk, 1991) ผลการวิจัยพบว่าหนังสือพิมพ์ไทยเลือกใช้กลวิธีทางภาษาในการรายงานข่าวชาวโรฮีนจา 3 กลวิธีหลัก ได้แก่ 1) กลวิธีทางความหมาย 2) กลวิธีทางรูปแบบภาษา และ 3) กลวิธีอุปลักษณ์ จากการวิเคราะห์พบว่าหนังสือพิมพ์นำเสนอชาวโรฮีนจาออกมา 2 มุมมอง คือ ชาวโรฮีนจาเป็นกลุ่มคนที่มักสร้างความเดือดร้อน ส่งผลให้ไม่มีประเทศใดต้องการรับดูแล ส่วนอีกมุมมองหนึ่งนำเสนอว่าชาวโรฮีนจาเป็นกลุ่มคนที่มีความทุกข์ยากลำบาก ต้องการความช่วยเหลือ  ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าสื่อหนังสือพิมพ์พยายามนำเสนอชาวโรฮีนจาแก่ผู้อ่านในมุมมองด้านลบ อีกทั้ง พยายามถ่ายทอดทัศนคติ ความคิดดังกล่าวไปสู่ผู้อ่านผ่านกลวิธีทางภาษาที่ใช้ในการรายงานข่าว ดังนั้นผู้อ่านควรใช้วิจารณญาณและรับข้อมูลข่าวสารด้วยใจเป็นกลาง เพื่อจะได้ไม่ถูกสื่อชักจูงและครอบงำ

Article Details

How to Cite
ตรีกลางดอน ก., & ปัญญาเมธีกุล ศ. (2017). กลวิธีทางภาษาที่หนังสือพิมพ์ไทยใช้ในการนำเสนอกลุ่มชาติพันธุ์โรฮีนจา. วรรณวิทัศน์, 17, 162–187. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2017.7
บท
บทความประจำฉบับ

References

กระทรวงการต่างประเทศ. (2551). ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: กระทรวงการต่างประเทศ.

กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์. (2543). ความเป็น "พวกเรา" และ "พวกเขา" ในสังคมไทย: การรายงานข่าวเกี่ยวกับชาวเขาในวาทกรรมหนังสือพิมพ์ไทย. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร. 19-20(3), 11-48.

ค้ามนุษย์มอบตัวอีก 2. (18 พฤษภาคม 2558). คม ชัด ลึก. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=ACF7F6CFB399E1D0E063785CA01E0B11

จวกโรฮินจา สร้างปัญหา ขอดูหนังโป๊ หนีที่พักพิง. (21 พฤษภาคม 2558). เดลินิวส์. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=CEB864B78A1258FB3BAFD151F3EC8EB

จันทิมา อังคพณิชกิจ. (2557). การวิเคราะห์ข้อความ (Discourse Analysis). กรุงเทพฯ: เอ็มแอนด์เอ็มเลเซอร์พริ้นต์.

เจอใหม่ 30 หลุมศพชาว 'โรฮีนจา'. (25 พฤษภาคม 2558). ไทยรัฐ. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=CA37C48398BA532AD03A25F3DCE222EF

ช่วยอีก 106 โรฮีนจา ถูกปล่อยเกาะ. (16 พฤษภาคม 2558). เดลินิวส์. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=39809291AA736633D08E4031A3EEF4AF

ดราม่าอีก! "ฐปณีย์" รายงานข่าวโรฮีนจา ชาวเน็ตด่ายับ "ชักศึกเข้าบ้าน". (18 พฤษภาคม 2558). สยามรัฐ. สืบค้นจาก http://www.siamrath.co.th/web/%E0%B8%94%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0

เด้ง ผบก. 13 พตอ. - ดต. เซ่นโรฮิงยา. (5 พฤษภาคม 2558). ข่าวสด. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=44D5CD7D0373548AB1828E378F8EE128

ตร. ล่า 11 โรฮินจาแหกศูนย์พักพิง. (8 มิถุนายน 2558). ไทยรัฐ. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=&nid=6D5040B55A9843D30352BD37A03B6999

ท่านจุฬาฯ เป็นห่วงโรฮิงยา. (5 พฤษภาคม 2558). ข่าวสด. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=477D9DBE7FA53C5A214AFDD225AF3116

บิ๊กป้อมถกอินโด ลุยแก้ 'โรฮิงยา'. (23 พฤษภาคม 2558). ข่าวสด. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip'aspx?pg=0&nid=F217666B4A94FA37FA3AD8800E52955B

ผงะ 139 หลุมศพ ในมาเลย์. (31 พฤษภาคม 2558). ไทยรัฐ. สืบค้นจาก http://edu.uqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=16BEC1387EDDEC6177B4CCD61E0AA38E

พม่าเมิน 15 ปท. ถกโรฮิงยา. (16 พฤษภาคม 2558). ข่าวสด. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=88A25D09EDD087E742454590FF6EBD9F

พล.ท.มนัสเปิดใจโต้ข้อหา ไม่เกี่ยวเงินโรฮิงยา. (3 มิถุนยาย 2558). ข่าวสด. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=5423010F5D189810425C2D11ED540F81

ภรณ์โสภา มหาวงศ์ทอง และ ศิริพร ปัญญาเมธีกุล. (พฤษภาคม-สิงหาคม 2558). ความรุนแรงในพาดหัวข่าวอุทกภัย ปี พ.ศ. 2554 และ 2555 ในหนังสือพิมพ์ไทย. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 12(2), 87-101.

'มนัส' มอบตัวปัดค้าโรฮิงญา. (4 มิถุนายน 2558). คม ชัด ลึก. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=32C05CE0500D6A21A4EF4FD15AAABC7E

รวบเพิ่มอีก 2 ค้าชาวโรฮีนจา. (23 พฤษภาคม 2558). ไทยรัฐ. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=1CF713AD5E955FDE274CAC908A7F2833

ราชบัณฑิตยสภา. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2557. สืบค้นจาก http://www.royin.go.th/dictionary/

โรฮีนจาชี้ตัว! 17 นักค้ามนุษย์. (12 มิถุนายน 2558). ไทยรัฐ. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=9D58B7CFB4B1B421977A786E33F50E40

'โรฮีนจา' แอบหนีสถานคุ้มครอง. (19 มิถุนายน 2558). เดลินิวส์. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=325A1E42858EA50FD538D1BFEB56381B

ศิริพร ปัญญาเมธีกุล. (2556, มกราคม-มิถุนายน). วาทกรรมเศรษฐกิจพอเพียงในสื่อมวลชนไทย. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, 31(2), 35-57.

สมยศฮึ่ม! ฟัน ผบก. เซ่นโรฮิงญา. (5 พฤษภาคม 2558). คม ชัด ลึก. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=1E0BAB9C4241DFF82984F15C89915B07

สลดผู้อพยพโรฮีนจา แย่งอาหารฆ่ากันตาย. (19 พฤษภาคม 2558) เดลินิวส์. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=BDA81C4E8F24EE245C41C2B8CA2FEE00

สอบนายอำเภอ เด้ง 2 ปลัด สังเวย 'โรฮีนจา'. (10 พฤษภาคม 2558). เดลินิวส์. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=E60C92126F0CAD31FA06A3E4118C373B

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2558). การละเมิดสิทธิมนุษยชนชาวโรฮิงญาสู่ปัญหาการโยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติข้ามชาติ. สืบค้นจาก http://www.parliament.go.th/library

อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2553). หน่วยสร้างกรรมวาจก. ใน อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (บก.). หน่วยสร้างที่มีข้อขัดแย้งในไวยากรณ์ไทย (น

-286). (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสือ สภ.ปาดังเบซาร์โดนเด้ง เซ่นหลุมศพโรฮิงญา. (5 พฤษภาคม 2558). ไทยรัฐ. สืบค้นจาก http://edu.iqnewsclip.com/viewstory.aspx?pg=0&nid=8E22DECFADC2E4344B570950F2F00F49

Fairclought, Norman. (1995). Media Discourse. New York: St Martin's.

Kovecses, Zoltan. (2010). Metaphor (2 nd ed.). New York: Oxford University Press.

van Dijk, Teun A. (1988). News as Discourse. New Jersey: Lawrence Eribaum.

van Dijk, Teun A. (1991). Racism and the Press. London: Routledge.