“เวลา คือ พื้นที่ปิดล้อม”: อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์แสดงเวลาตามระบบปฏิทินในภาษาไทยถิ่นลําาปาง
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลการวิจัยพบว่าผู้พูดภาษาไทยถิ่นลำปางใช้ถ้อยคำอุปลักษณ์ที่สะท้อนมโนทัศน์เวลาตามระบบปฏิทินคือมโนอุปลักษณ์ [เวลา คือ พื้นที่ปิดล้อม] ผ่านการใช้ถ้อยคำอุปลักษณ์ /naa343/ ‘หน้า’ และ /naj33/ ‘ใน’ ที่แสดงเวลาในอนาคต การบอกเวลาในอนาคตของคนไทยถิ่นลำปางจึงเหมือนกับการเดินหรือเคลื่อนที่เข้าไปหาพื้นที่ที่ซ้อนกันเป็นชั้นดังนั้นการบอกเวลาในอนาคตของผู้พูดภาษาไทยถิ่นลำปางจึงสัมพันธ์กับตำแหน่งการเกิดของเวลาตัวผู้พูดและการเรียงลำดับเหตุการณ์ในเวลาที่เกิดขึ้น
Article Details
References
ชัชวดี ศรลัมพ์. (มกราคม–มิถุนายน 2548). อุปลักษณ์ตามแนวคิดของทฤษฎีภาษาศาสตร์ปริชาน. วารสารศิลปศาสตร์, 5(1), 1–16.
ชัชวดี ศรลัมพ์. (มกราคม–มิถุนายน 2561). อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ “เวลาเป็นพื้นที่”:การศึกษาตามแนวทางภาษาศาสตร์ปริชานคำว่า “หน้า” และ “หลัง” ในภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, 13(2), 1–22.
ณัฐวรรณ ชั่งใจ. (2552). การศึกษาพัฒนาการของคําาบอกเวลาในภาษาไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
เดล ควาลไฮม. (2543). อุปลักษณ์เกี่ยวกับมโนทัศน์เรื่องเวลาในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
น้อมนิจ วงศ์สุทธิธรรม. (2515). คําาบอกเวลาในภาษาไทย. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต).จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
นิโลบล ภู่ระย้า. (2556). การศึกษาคําาบอกเวลาในภาษาไทยถิ่นอีสานในพื้นที่ภาคอีสานตอนบน. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ปิ่นอนงค์ อำปะละ. (2559). ระบบมโนทัศน์ “เวลา” ของผู้พูดภาษาไทยถิ่นเหนือ.(วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
มิ่งมิตร ศรีประสิทธิ์. (ธันวาคม 2548). การศึกษาคำบอกเวลาในภาษาไทยถิ่นใต้.วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 22, 160–195.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554.กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
ราตรี แจ่มนิยม. (2558). การศึกษาเปรียบเทียบคําาบอกเวลาที่สะท้อนโลกทัศน์ในภาษาไทยกับภาษาพม่า. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ.
อรนุช สุวรรณรัตน์. (2534). คําาบอกเวลาในภาษาถิ่นใต้จังหวัดนครศรีธรรมราช.(วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
Kövecses, Z. (2002). Metaphor: A Practical Introduction. New York: Oxford UniversityPress.
Lakoff, G. and Johnson, M. (1980). Metaphors We Live By. Chicago and London: The University of Chicago Press.
Pranee Kullavanijaya. (2003). A Historical Study of Time Markers in Thai. In IwasakiShoichi, et al. (eds), Seals XIII Papers from the 13th annual meeting of the Southeast Asian Linguistics Society 2003 (pp. 105–123). Australia: PacificLinguistics.