ท็อปเชฟไทยแลนด์ ซีซั่น 1: การศึกษาความไม่สุภาพตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์

Main Article Content

ศิระวัสฐ์ กาวิละนันท์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีความไม่สุภาพในรายการท็อปเชฟไทยแลนด์ ซีซั่น 1 โดยเก็บรวบรวมข้อมูลเฉพาะช่วง Quickfire Challenge และ Judges’ Table ซึ่งเผยแพร่ซ้ำในเว็บไซต์ยูทูป ทั้งสิ้น 13 ตอน ผลการวิจัยพบว่าความไม่สุภาพเกิดขึ้นจากทั้ง 2 ฝ่าย ได้แก่ ความไม่สุภาพจากคณะกรรมการ และความไม่สุภาพจากผู้เข้าแข่งขัน โดยทั้งคู่ได้ใช้กลวิธีความไม่สุภาพ 4 กลวิธี ได้แก่ กลวิธีความไม่สุภาพแบบตรง กลวิธีความไม่สุภาพแบบอ้อม กลวิธีการยั่วล้อ และกลวิธีเสริมความไม่สุภาพ กลวิธีความไม่สุภาพดังกล่าวนอกจากใช้เพื่อแสดงความไม่เห็นด้วยหรือแสดงความไม่พอใจแล้ว ยังใช้เพื่อสร้างกระแสของรายการให้เป็นที่กล่าวถึงและสร้างจุดเด่นทางการตลาด ที่สำคัญคือใช้เพื่อนำเสนอวิถีชีวิตและตัวตนของเชฟว่าต้องเป็นผู้ที่สามารถอดทนต่อทุกสถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ให้ได้

Article Details

How to Cite
กาวิละนันท์ ศ. (2018). ท็อปเชฟไทยแลนด์ ซีซั่น 1: การศึกษาความไม่สุภาพตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์. วรรณวิทัศน์, 19(2), 57–86. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2019.11
บท
บทความวิจัย

References

กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และธีรนุช โชคสุวณิช. (2551). วัจนปฏิบัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กุลจิรา หวังสงวนกิจ. (กรกฎาคม - ธันวาคม 2554). สมาคมพ่อครัวไทยและเคล็ดลับสู่การเป็นเชฟ. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 12(22), 75-77.

คณะวิทยาการจัดการ. (มปป.). เอกสารประกอบการสอนวิชาการพัฒนาบุคลิกภาพ. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

คอลัมน์ข่าวสดบันเทิง. (23 มีนาคม 2560). “ช่องวัน” ผุดรายการแข่งขันทำอาหาร ซื้อลิขสิทธิ์ “ท็อปเชฟ” จากอเมริกา รับประกันความสนุก. ข่าวสด. สืบค้นจาก https://www.khaosod.co.th/entertainment/news_267232.

จันทิมา สว่างลาภ. (2556). กลวิธีความไม่สุภาพในรายการเรียลลิตี้โชว์ภาษาไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2555). เอกสารคำสอนรายวิชา 2201783 การวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนววัจนปฏิบัติศาสตร์. ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐวุฒิ แสงชูวงษ์. (6 ธันวาคม 2560). มิชลินสตาร์มาบุกเมืองไทยแล้ว ว่าแต่ ‘มิชลินสตาร์’ คืออะไร ?. สืบค้นจาก https://www.gqthailand.com/life/article/what-is-michelin-star.

นววรรณ พันธุเมธา. (2549). ไวยากรณ์ไทย. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิตยสาร Positioning. (11 พฤษภาคม 2561). เรื่องกินเรื่องใหญ่! ได้เวลารายการอาหารยึดจอ. สืบค้นจาก https://positioningmag.com/1169498.

ปานปั้น ปลั่งเจริญศรี. (2560). กลวิธีความไม่สุภาพที่ใช้ในสัมพันธสารการอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจในรัฐสภาไทย. ใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, รายงานการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ (น.1442-1454). ขอนแก่น: ผู้แต่ง.

วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ และวิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561). กลวิธีความไม่สุภาพในรายการ เดอะเฟซไทยแลนด์. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 40(2), 177-201.

เว็บไซต์ brandinside ธุรกิจ คิดใหม่. (26 กันยายน 2561). อานิสงส์รายการทำอาหารบูม! คนรุ่นใหม่แห่เรียน Le Cordon Bleu ในไทย สานฝันอาชีพเชฟในอนาคต. สืบค้นจาก https://brandinside.asia/cooking-tv-program-le-cordon-bleu.

อรวี บุนนาค. (2559). กลวิธีความไม่สุภาพในการแสดงความคิดเห็นผ่านเฟซบุ๊กองค์กรเครือข่ายสัญญาณรศัโทพท์เคลื่อนที่ของไทย. ใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา, รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6 (น. 79-90). ชลบุรี: ผู้แต่ง.

Brown, P. and Levinson, S.C. (1987). Politeness: Some Universals in Language Usage. Great Britain: Cambridge University Press.

Karina, C. and Ika Putri, N. (2015). Impoliteness in Simon Cowell’s Utterances in “The X-Factor” Reality Show. Anglicist, 4(1), 32-40.

Culpeper, J. (1996). Toward an anatomy of impoliteness. Journal of Pragmatics, 25, 349-367.

Kecskes, I. (2015). Intercultural Impoliteness. Journal of Pragmatics, 86(2015), 43-47.

Leech, G. (1983). Principle of Pragmatics. London: Longman.

Toddington, S.R. (2015). Impoliteness as a vehicle for humour in dramatic discourse. (Ph.D. thesis). University of Central Lancashire, Preston, U.K.