แนวคิดเกี่ยวกับคำบุพบทในภาษาไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
นักภาษาศาสตร์ที่สนใจศึกษาชนิดของคำในภาษาไทยได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับคำบุพบทไว้หลากหลายทรรศนะ บทความนี้จึงมุ่งสำรวจวรรณกรรมที่ศึกษาคำบุพบทในภาษาไทยว่า มีการศึกษาและการอธิบายคำบุพบทในภาษาไทยไว้เพียงใดและในแง่ใดบ้าง อีกทั้งยังได้เปรียบเทียบแนวคิดเกี่ยวกับคำบุพบทในวรรณกรรมดังกล่าว พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวคิดเกี่ยวกับคำบุพบทเหล่านั้นด้วย
ผลการศึกษาพบว่าแนวคิดเกี่ยวกับคำบุพบทในภาษาไทยอาจแบ่งออกเป็น ๒ แนวคิดหลัก คือ (๑) แนวคิดที่ว่ามีคำบุพบทในภาษาไทย และ (๒) แนวคิดที่ว่าไม่มีคำบุพบทในภาษาไทย อนึ่ง แนวคิดทั้งสองแนวคิดยังมีข้อจำกัดในการอธิบายคำบุพบท
ในภาษาไทยทั้งในแง่การจำแนกหมวดคำ และหน้าที่และความหมายของคำ
Article Details
References
จรัสดาว อินทรทัศน์. (๒๕๓๙). กระบวนการที่คำกริยากลายเป็นคําาบุพบทในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, ภาควิชาภาษาศาสตร์.
เทพี พันธุเมธา. (๒๕๒๘). การใช้สันธานในสมัยรัตนโกสินทร์. วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะอักษรศาสตร์, ภาควิชาภาษาไทย.
นววรรณ พันธุเมธา. (๒๕๔๙). ไวยากรณ์ไทย(พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพมหานคร: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิตยา กาญจนะวรรณ. (๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๔). บุพบทหรือกริยาหรือนาม. มติชนสุดสัปดาห์, ๒๑, ๖๑.
ภาษิต จิตรภาษา. (กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑). “บุพพบท” คืออะไร. ศิลปวัฒนธรรม, ๑๙, ๖๒-๖๔.
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์.
วิจินตน์ ภาณุพงศ์. (๒๕๓๒).โครงสร้างของภาษาไทย: ระบบไวยากรณ์ (พิมพ์ครั้งที่ ๑๐). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สุมาลี วีระวงศ์. (๒๕๔๗). บุพบทอยู่ที่ไหน. ในพัชราวลัย ทองอ่อน (บรรณาธิการ), ภาษาไทยของเรา (น.๙๒-๙๘). กรุงเทพมหานคร: สถาพรบุ๊คส์.
อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (๒๕๕๓). ชนิดของคำในภาษาไทย: การวิเคราะห์ทางวากยสัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์. (พฤศจิกายน ๒๕๔๐). จาก ตาม ถึง มิใช่บุรพบท. ศิลปวัฒนธรรม, ๑๙, ๘๑-๘๒.
อุดม วโรตม์สิกขดิตถ์. (๒๕๔๗). มุมต่างทางภาษาตามวิถีภาษาศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพมหานคร: ต้นธรรม.
อุปกิตศิลปสาร, พระยา. (๒๕๔๘). หลักภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
Blake, B. J. (2001). Case. Cambridg: Cambridge University Press.
Clark, M. (1978). Coverbs and Case in Vietnamese. In Pacific Linguistics, Series B, No. 48. Canberra: Australian National University Press.
Curme, G. O. (1962). English Grammar. New York: Barnes & Noble, Inc.
Indrambarya, Kitima. (1994). Subcategorization of Verbs in Thai. Ph.D. dissertation, University of Hawaii.
Indrambarya, Kitima. (1995). “Are there prepositions in Thai?”. In Papers from the Third Annual Meeting of the Southeast Asian Linguistics Society. ed. M. Alves. pp.101-118. Arizona State University, Program for Southeast Asian Studies.
Kullavanijaya, Pranee. (1974). Transitive Verbs in Thai. Ph.D. dissertation, University of Hawaii.
Prasithrathsint, Amara. (1985). Change in the Passive Constructions in Written Thai during the Bangkok Period. n.p.
Savetamalaya, Saranya. (1989). Thai Nouns and Noun Phrases: A Lexicase Analysis. University of Hawaii dissertation.
Starosta, S. (1988). The Case for Lexicase. London: Pinter Publishers Ltd.
Starosta, S. (2000). The Identification of Word Classes in Thai. In M.R. Kalaya Tingsabadh and Abramson, (Ed.), Essays in Tai Linguistics. A. Bangkok: Chulalongkorn University Publishers.
Stenzler, A. F. (1992). Primer of the Sanskrit Language. London: School of Oriental and African Studies, University of London.
Warotamasikkhadit, Udom. (1988). “There are no prepositions in Thai”. In C. Bamroongraks et al., (Eds.), The International Symposium on Language and Linguistics. Bangkok, Thailand. pp.70-76. Thammasat University.
Whitney, W. D. 1889. Sanskrit Grammar. London: Oxford University Press.