ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ: แนวทางการจัดการเรียนการสอนระดับพื้นฐาน

Main Article Content

นวลทิพย์ เพิ่มเกษร

บทคัดย่อ

ปัจจุบันการเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศเป็นวิชาการสาขาหนึ่งที่มีผู้สนใจศึกษา ค้นคว้า โดยเฉพาะการเรียนการสอนระดับพื้นฐานซึ่งมีแนวคิด วิธีสอน และกลวิธีในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย ผู้เขียนบทความนี้ได้นำเสนอแนวทางในการจัดการเรียนการสอนทั้งด้านการออกเสียงการสนทนา การอ่านและการเขียนในแง่มุมที่ผู้เขียนได้จากการศึกษาค้นคว้า วิจัยและประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างประเทศ

Article Details

How to Cite
เพิ่มเกษร น. (2016). ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ: แนวทางการจัดการเรียนการสอนระดับพื้นฐาน. วรรณวิทัศน์, 13, 213–235. https://doi.org/10.14456/vannavidas.2013.10
บท
บทความประจำฉบับ

References

นวลทิพย์ เพิ่มเกษร. (๒๕๕๖). ทฤษฎีและวิธีสอนภาษาไทยสำหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศ. ทุนสนับสนุนการเขียนตำรา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และทุนสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่ตำรา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

นวลทิพย์ เพิ่มเกษร. (๒๕๕๔). รายงานการวิจัยเรื่องกลวิธีบางประการในการสอนภาษาไทยแก่ชาวต่างประเทศ: วิเคราะห์จากแบบเรียนภาษาไทยพื้นฐาน ๘ เล่ม. ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปรียา หิรัญประดิษฐ์. (๒๕๔๕). สภาพการเรียนการสอนภาษาไทยให้แก่ชาวต่างประเทศในประเทศไทย. ทุนอุดหนุนงานวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน (สภาวิจัยแห่งชาติ).

Brown, H. Douglas. (1994). Teaching by Principles: An Interactive Approach to Language Pedagogy. New Jersey: San Francisco State University. Prentice Hall Regents.

Ellis, R. (1997). The Study of Second Language Acquisition. Oxford: Oxford University Press.

Lightbown, Pasty M, and Nina Spada. (1999). How languages are Learned. Oxford: Oxford University Press.

Preecha Juntanamalaga, and Diller, Tony. (1997). Beginning Thai. Southeast Asia Centre, Faculty of Asian Studies, The Australian National University.

Wilaiwan Khanittanan. (1999). An Introductory Course in Thai Language and Culture. Bangkok: Thammasat University.