สำนึกทางสังคมในกวีนิพนธ์ไทยในกระแสโลกสมัยใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาสำนึกทางสังคมในกวีนิพนธ์ไทยในกระแสโลกสมัยใหม่อันเป็นช่วงท่ามกลางบริบทสังคมวัฒนธรรมที่อยู่ในยุคโลกาภิวัตน์ โดยศึกษาจากผลงานของกวีรุ่นใหม่ที่ผลงานแสดงมิติความสัมพันธ์กับบริบทของโลกสมัยใหม่เป็นตัวแทนของยุคสมัย
ผลการศึกษาพบว่า กวีไทยรุ่นใหม่สื่อแสดงให้เห็นสำนึกทางสังคมในบริบทของโลกสมัยใหม่สอดคล้องกับหมู่นักคิดที่ตื่นตัวในปัญหาของมนุษย์และสังคม รวมถึงปัญหาความขัดแย้งของสังคมไทย ในประเด็นสำคัญ คือ การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจกับการละเลยคุณค่าทางสังคมวัฒนธรรม การรักษาและกอบกู้คุณค่าทางจิตวิญญาณให้คงอยู่ท่ามกลางความผันผวนในกระแสบริโภคนิยม และมโนสำนึกของกวีต่อความขัดแย้งในสังคมไทยร่วมสมัย
Article Details
References
กมล กมลตระกูล. (2551). การครอบโลก: วิกฤตเศรษฐกิจและทางรอด. กรุงเทพฯ: มิ่งมิตร.
กานติ ณ ศรัทธา. (2547). ที่ซึ่งขุนเขาทะลุเมฆ. กรุงเทพฯ: สยามอินเตอร์บุ๊คส์.
กุสุมา รักษมณี. (2547). กุสุมาวรรณนา 4: วรรณสารวิจัย. กรุงเทพฯ: แม่คําาผาง.
กองบรรณาธิการประชาชาติธุรกิจ. (2549). 3 ทศวรรษประเทศไทย ยุคทุนนิยมไล่ล่า. กรุงเทพฯ: มติชน.
กอบกาญจน์ ภิญโญมารค. (2551). ธรรมชาติในกวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย (พ.ศ. 2520-2547). (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาภาษาไทย.
โกสินทร์ ขาวงาม. (2550). หมู่บ้านในแสงเงา. กรุงเทพฯ: เครือข่ายนักเขียนแห่งประเทศไทย.
โกสินทร์ ขาวงาม. (2553). เมืองในแสงแดด. กรุงเทพฯ: ใบไม้ป่า.
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และคณะ. (2546). ภาษาและวรรณกรรมสาร: ภาษาและวรรณกรรมไม่เคยตาย. กรุงเทพฯ: แซทโฟร์ พริ้นติ้ง จํากัด.
เจตนา นาควัชระ. (2538). วิกฤตการณ์ของมนุษยศาสตร์. กรุงเทพฯ: สํานักกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
ฉลาดชาย รมิตานนท์. (2536). วัฒนธรรมกับความหลากหลายทางชีวภาพ. ใน ความหลากหลายทางชีวภาพกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา.
ชัยพร ศรีโบราณ. (2548). นิราศจักรวาล. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
เชษฐภัทร วิสัยจร. (2549). สงครามศักดิ์สิทธิ์. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คพับลิเคชั่น.
เชษฐภัทร วิสัยจร. (2556). กวีนิราศ. กรุงเทพฯ: 340.
เชษฐภัทร วิสัยจร. (2556). รัฐธรรมนูญใหม่กับ I-pad. อุบลราชธานี: 340.
ดวงมน จิตร์จํานงค์. (มกราคม-เมษายน 2543). แนวคิดสําาคัญของกวีนิพนธ์ไทยในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 6: 1, 1-13.
ดวงมน จิตร์จํานงค์. (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2552). โลกทัศน์และพลังทางสุนทรียะในวรรณกรรมไทย (2540-2547). วารสารสงขลานครินทร์, 15: 1, 3-35.
ธีระ นุชเปี่ยม. (2542). โลกาภิวัตน์กับประวัติศาสตร์นิพนธ์. ใน วินัย พงศ์ศรีเพียร. ประวัติศาสตร์ปริทรรศน์พิพิธนิพนธ์เชิดชูเกียรติ พลโท ดําเนิร เลขะกุล เนื่องในโอกาสมีอายุครบ 84 ปี. กรุงเทพฯ: จัดพิมพ์เผยแพร่โดยการสนับสนุนของกองทุนดําาเนิร เลขะกุล เพื่อประวัติศาสตร์.
ธีรยุทธ บุญมี. (2546). ถอดรื้อปรัชญาและศิลปะแบบตะวันตกเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: สายธาร.
ธีรยุทธ บุญมี. (2546). พหุนิยม. กรุงเทพฯ: สําานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. เธอยังเขียน บทกวีอยู่อีกเหรอ. (30 มีนาคม 2551). จุดประกายวรรณกรรม (กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันอาทิตย์), น. 2.
นายทิวา. (2553). ในความไหวนิ่งงัน. กรุงเทพฯ: แอล. ที. เพรส. จําากัด.
นายทิวา. (2555). บันทึกรอยเท้ารายทาง. กรุงเทพฯ: พริ้นท์ ซิตี้ จํากัด.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2541). ยุคสมัยไม่เชื่ออย่าลบหลู่. กรุงเทพฯ: แพรว.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2546). วัฒนธรรมเทคโนโลยี. ใน ไฮเทคคาถาปาฏิหาริย์ ว่าด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: มติชน.
นิธิ เอียวศรีวงศ์, ศรีศักร วิลลิโภดม, และ เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2543). มองอนาคต: บทวิเคราะห์เพื่อปรับเปลี่ยนทิศทางสังคมไทย (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ภูมิปัญญา.
ประเวศ วะสี. (2545). วิถีมนุษย์ในศตวรรษที่ 21 สู่ภพภูมิใหม่แห่งการพัฒนา. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2549). ปรัชญากับวิถีชีวิต. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.
พจนา จันทรสันติ. (2544). ในท่ามกลางอารยธรรมผุกร่อน. กรุงเทพฯ: ศยาม.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2540). ชีวิตในสังคมเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). การสร้างสรรค์ปัญญาเพื่ออนาคตของมนุษยชาติ. กรุงเทพฯ: ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม.
พระไพศาล วิสาโล. (2547). ส่องสว่างทางไท. กรุงเทพฯ: กลุ่มเสขิยธรรม.
พลัง เพียงพิรุฬห์. (2547). อาศรมพระจันทร์. ภูเก็ต: บ้านเขาน้อย.มนุษย์กับธรรมชาติเสียงใคร่ครวญจากภูมิปัญญาตะวันออก-ตะวันตก. (2536). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยุค ศรีอาริยะ. (2537). โลกาวิวัฒน์ 2000. กรุงเทพฯ: ไอโอนิค อินเตอร์เทรด รีซอสเซสจํากัด.
ยุค ศรีอาริยะ. (2539). สู่กระแสกระบวนทัศน์ใหม่. กรุงเทพฯ: ไอโอนิค อินเตอร์เทรด รีซอสเซส จํากัด.
ยุค ศรีอาริยะ. (2544). มายาโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์.
ยุค ศรีอาริยะ. (2548). คลื่นปฏิวัติโลกใหม่สู่อารยธรรมไร้พรมแดน. กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2545). พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมอังกฤษ – ไทย. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
วรภ วรภา. (2550). มหาชเล. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
วรภ วรภา. (2552). ทอรัก ถักโลก. กรุงเทพฯ: ลายแฝด. วิถีสังคมไท สรรนิพนธ์ทางวิชาการ เนื่องในวาระหนึ่งศตวรรษ ปรีดี พนมยงค์. (2543). กรุงเทพฯ: โครงการจัดงานฉลอง 100 ปี รัฐบุรุษอาวุโส นายปรีดี พนมยงค์.
วิสุทธิ์ ขาวเนียม. (2553). มรสุมประเทศนี้ยังยาวนาน. กรุงเทพฯ: ลายแฝด.
วิสุทธิ์ ขาวเนียม. (2556). อาณานิคมของความเศร้า. กรุงเทพฯ: แพรว.
วิทย์ วิศทเวทย์. (มกราคม 2532). มนุษย์ควรปฏิบัติอย่างไรกับธรรมชาติ. วารสารอักษรศาสตร์, 21: 1, 44.
สมภาร พรมทา. (2549). พุทธปรัชญา มนุษย์ สังคมและปัญหาจริยธรรม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ธรรมสาร.
สมภาร พรมทา. (2548). พุทธศาสนากับปัญหาจริยศาสตร์ โสเภณี ทําแท้ง และการุณ-ยฆาต. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมาลี วีระวงศ์ และคณะ. (2544). กวีนิพนธ์ไทยร่วมสมัย: บทวิเคราะห์และสรรนิพนธ์. กรุงเทพฯ: ศยาม.
สุมาลี วีระวงศ์ และคณะ. (2541).“บทวิเคราะห์และสรรนิพนธ์กวีนิพนธ์ไทย,” กวีนิพนธ์ในฐานะพลังทางปัญญาของสังคมร่วมสมัย: ประสบการณ์จากวรรณคดีไทย อังกฤษ อเมริกัน ฝรั่งเศส และเยอรมัน. กรุงเทพฯ: ศยาม.
เสน่ห์ จามริก. (2541). ฐานคิดสู่ทางเลือกใหม่ของสังคมไทย. กรุงเทพฯ: โครงการวิถีทรรศน์.
อมรา พงศาพิชญ์. (2544). ความหลากหลายทางวัฒนธรรม (วิธีวิทยาและบทบาทในประชาสังคม) (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อังคาร จันทาทิพย์. (2554). วิมานลงแดง. กรุงเทพฯ: ดับเบิ้ลนายน์.
อังคาร จันทาทิพย์. (2555). หัวใจห้องที่ห้า. กรุงเทพฯ: ผจญภัยสําานักพิมพ์.
อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2538). วัฒนธรรมกับการพัฒนา: มิติของพลังที่สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.
เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา. (2554). โลกาภิวัตน์ บรรษัทข้ามชาติ บรรษัทภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคมของบรรษัท. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2544). ภาพรวมภูมิปัญญาไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.
เอกวิทย์ ณ ถลาง. (2545). ศักยภาพในไทวิถี. กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์.
แอนโธนี กิ๊ดเดนส์. (เชษฐา พวงหัตถ์, ผู้แปล). (2546). โลกในกระแสการเปลี่ยนแปลง. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 23: 1, 133-183.
Boonkhachorn, Trisilpa. (1998). Intertextuality as a Paradigm for Literary Study in Thai Literary and Social Contexts. Manusya Journal of Humanities, 1, 1, 1-15.
Olsen, Stein Hangom. (1978). The Structure of Literary Understanding. London: Cambridge University Press.
โครงการประกวดร้อยกรองออนไลน์ สมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6/2556. (2559). สืบค้นจาก http://www.thaipoet.net/index.
ทะเล ป่าภู และเพิงพัก. (เมษายน 2548). สืบค้นจาก http://www.Thaipoem.com/fiction/5021มองโลกผ่านดวงตากวีซีไรต์
มนตรี ศรียงค์. (กันยายน 2550). สืบค้นจาก http://www.softganz.com/meeped/paper/1684
วินัย อุกฤษณ์. (2550). สถานการณ์นักเขียนไทยวันนี้: คุณภาพหรือปริมาณ. รายงานการสัมมนานักเขียนสี่ภูมิภาค ครั้งที่ 2 (ภาคใต้). สืบค้นจาก http://www.thaiwriterassociation.org/columnread.php?id=22