การสร้างวัฒนธรรมองค์การที่สนับสนุนความสามารถทางการแข่งขันของอุตสาหกรรมบริการ

ผู้แต่ง

  • ทศพร ทานะมัย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • สมพงษ์ เพชรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • นาถรพี ชัยมงคล คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

วัฒนธรรมองค์การ, ความสามารถทางการแข่งขัน, อุตสาหกรรมบริการ

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันความสามารถทางการแข่งขันถือเป็นสิ่งที่อุตสาหกรรมบริการต้องให้ความสำคัญ การที่บริษัทมีผลการดำเนินงานที่โดดเด่นได้นั้นเป็นเพราะสามารถที่จะพัฒนาและมีความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน ซึ่งความสามารถทางการแข่งขันนี้อาจไม่ได้มาจากการกำหนดกลยุทธ์ที่เหนือกว่าบริษัทอื่น หรือการจัดโครงสร้างและระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากกว่า และการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่ มาใช้ในการดำเนินงานเพียงเท่านั้น แต่ยังมาจากวัฒนธรรมองค์การที่มีเอกลักษณ์และมีความแข็งแกร่งด้วย ซึ่งธุรกิจจะสามารถใช้การสร้างวัฒนธรรมองค์การเข้ามามีส่วนช่วยสนับสนุนความสามารถทางการแข่งขันได้โดยการมีวัฒนธรรมแบบมุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลง รูปแบบวัฒนธรรมองค์การนี้จะสามารถสนับสนุนความได้เปรียบในการแข่งขันแก่องค์การได้ สร้างผลดำเนินการด้านการเงินให้สูงขึ้น โดยเฉพาะวัฒนธรรมที่สร้างคุณค่าแก่องค์การ จะช่วยสนับสนุนให้ยอดขายสูงขึ้น และเพิ่มมูลค่าทางการเงินให้องค์การ

References

กัญญา ศิริกุล. (2561). วัฒนธรรมองค์กร ข้อได้เปรียบในการแข่งขันที่ลอกเลียนได้ยาก. วารสารรามคำแหง. 20(1). 32-46.

ฉัตยาพร เสมอใจ และ ฐิตินันท์ วารีวนิช. (2551). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ฉันทพิชญ์ อาริยะโรจน์. (2554). ความสัมพันธ์ของปัจจัยเชิงกลยุทธ์กับความสามารถทางการแข่งขันด้านการศึกษาของมหาวิทยาลัยเอกชนกลุ่มเครือข่ายเบญจมิตรวิชาการ. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช).

ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2557). การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ: ส.เอเซียนเพรส (1989).

ทวีเกียรติ ประพฤทธิ์ตระกูล และ ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (2554). ตัวแบบการจัดการองค์การเพื่อความได้เปรียบในการแข่งขันในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์. วารสารบริหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 34(129). 24-40.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2561). Thailand’s Key Macroeconomic Chart Pack. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/Statistics/Graph/Chart_Pack/Chart%20Pack.pdf

ธนชัย ยมจินดา. (2552). การจัดการกลยุทธ์ และสมรรถนะ. เอกสารประกอบบรรยายชุดวิชา สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

นิรมล นันตะคุคนธ์. (2553). ปัจจัยเชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถทางการแข่งขันของ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน). (การศึกษาค้นคว้าอิสระสาขาวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช).

เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2558). การพัฒนาองค์การและการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป

บุญเกียรติ ชีวะตระกูลกิจ. (2559). การจัดการเชิงยุทธศาสตร์สำหรับ CEO (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ : พี.เพรส.

พัชสิรี ชมพูคำ. (2553). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แมคกรอฮิล.

มัทณี บุญประเสริฐ. (2557). วัฒนธรรมขององค์การ พฤติกรรม และคุณภาพชีวิตการทำงาน ที่ส่งผลต่อระดับความสำเร็จในการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการบริษัทเอกชน เขตห้วยขวาง. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ)

ศิริยุพา รุ่งเริงสุข. (2559). วัฒนธรรมองค์กรของ Start-up ระดับโลก. สืบค้นจาก http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/639682

สมจินตนา คุ้มภัย. (2553). การเปรียบเทียบวัฒนธรรมองค์การที่มีผลต่อประสิทธิผลองค์การ: กรณีศึกษารัฐวิสาหกิจในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริการศาสตร์).

รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร และ เบญญาภา กันทะวงศ์วาร. (2553). การบริหารความได้เปรียบทางการแข่งขันเพื่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการวัดผลปฏิบัติแบบดุลยภาพ ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 2(1).

รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร และ สรุชัย อุดมอ่าง. (2554). การบริหารความได้เปรียบทางการแข่งขันเพื่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจ SMEs ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ, 28(1).

วิรัช สงวนวงศ์วาน. (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์กร. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

Barney,Jay B. (2014). Gaining and Sustaining Competitive Advantage. London: Pearson Higher ed.

Bowditch, J. L., & Buono, A. F. (2005). A Primer on Organizational Behavior. (6th ed.). New York: Wiley.

Buytendijk, F. (2006). The Five Keys to Building a High-Performance Organization. Business Performance Management. 4(1), 24-30.

Cameron, K. S., & Quinn, R. E. (1999). Diagnosing and Changing Organizational Culture: Based on The Competing Values Framework. Reading Mass: Addison-Wesley.

Deal, T. E., & Kennedy, A. A. (1982). Corporate Culture: The Rites and Rituals of Corporate Life. Reading, Mass: Addison- Wesley.

George, M. J., & Jones, G. R. (2012). Understanding and Managing Organization Behavior, Student Value Edition. (6th ed). New Jersey: Pearson.

Gordon, G. G., & Ditomaso, N. (1992). Predicting Corporate Performance from Organizational Culture. Journal of Management Studies. 29.

Handy, C. (1991). Gods of Management: The Changing Work of Organizations. London: Business Books.

Kotler, P., & Armstrong, G. (2017). Principles of Marketing. (17th ed.). Harlow: Pearson Education.

Kotter, J. P., & Heskett, J. L. (1992). Corporate Culture and Performance. New York: The Free Press.

Krames, J. A. (2003). What the Best CEOs Know: 7 Exceptional Leaders and Their Lessons for Transforming any Business. New York: McGraw-Hill.

Messmer, M. (2001). Capitalizing in Corporate Culture. Internal Auditor. 58(8), 38-45.

Peters, T. J., & Waterman, R. H. (1982). In Search of Excellence: Lessons from America’s Best-Run Companies. New York: Harper & Row.

Robbins, S. P., & DeCenzo, D. A. (2017). Fundamentals of Management. (10th ed.). Upper Saddle River,N.J.: Pearson.

Schein, Edgar H. (2016). Organizational Culture and Leadership. (5th ed.). San Francisco: Jossey-Bass.

Schein, E. H. (2009). The Corporate Culture Survival Guide New and Revised Edition. San Francisco: Jossey-Bass.

Trompenaars, F., & Hampden-Turner, Charles. (2004). Managing People Across Cultures. Oxford: Capstone.

Williams, C. (2008). Effective Management: A Multimedia Approach. (3rd ed.). Mason,Ohio: Thomson South-Western.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-08-31