ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อบริการการสมัครสมาชิกยูทูบพรีเมียมของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

กิตติธัช ช้างทอง
สุมามาลย์ ปานคำ

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการตัดสินใจซื้อบริการการสมัครสมาชิกยูทูบพรีเมียมของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และ เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อบริการการสมัครสมาชิกยูทูบพรีเมียมของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามออนไลน์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ที่เคยซื้อบริการการสมัครสมาชิกยูทูบพรีเมียมและพักอาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร 405 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละและโมเดลสมการโครงสร้างใช้ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุเพื่อหาเส้นทางอิทธิพลเชิงสาเหตุ ผลการวิจัยพบว่าโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 4 ด้านได้แก่ 1) ด้านรูปแบบการดำเนินชีวิต 2) ด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ 3) ด้านความตั้งใจซื้อ และ 4) ด้านการตัดสินใจซื้อ ซึ่งโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์เป็นอย่างดี โดยพิจารณาจากค่า CMIN/df = 1.93, GFI = 0.93, AGFI = 0.90, CFI = 0.93, RMSEA = 0.04, SRMR = 0.04, RMR = 0.06 ค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์เท่ากับ 0.73 แสดงว่าตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของการตัดสินใจซื้อบริการการสมัครสมาชิกยูทูบพรีเมียมได้ร้อยละ 73 ปัจจัยด้านความตั้งใจซื้อมีอิทธิพลทางตรงมากที่สุดและด้านรูปแบบการดำเนินชีวิตมีอิทธิพลทางอ้อมมากที่สุดต่อการตัดสินใจซื้อบริการการสมัครสมาชิกยูทูบพรีเมียม


 

Article Details

How to Cite
ช้างทอง ก., & ปานคำ ส. . (2021). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อบริการการสมัครสมาชิกยูทูบพรีเมียมของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 41(3), 135–152. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/utccjournalhs/article/view/246915
บท
บทความวิจัย

References

กริช แรงสูงเนิน. (2554). การวิเคราะห์ปัจจัยด้วย SPSS AMOS เพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

กังสดาล ศิษย์ธานนท์. (2558). รูปแบบการดำเนินชีวิต รูปแบบการใช้สื่อออนไลน์ และความตั้งใจซื้อสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.

กาญจนา แก้วเทพ. (2541). การวิเคราะห์สื่อ แนวคิดและเทคนิค. กรุงเทพฯ: อินฟินิตี้เพลส. การใช้สิทธิประโยชน์ของ YouTube Premium. (2562). สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2563, จาก https://support.google.com/youtube/answer/6308116?hl=th

จีรนันท์ สุธิตานนท์. (2561). รูปแบบการดำเนินชีวิตของกลุ่มลูกค้าเจนเนอเรชั่นวายที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าประเภทเสื้อผ้าแฟชั่น (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี.

ฉัตรยาพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: วีพรินท์(1991).

ชไมพร กาญจนกิจสกุล. (2555). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. ตาก: โพรเจ็คท์ไฟฟ์-โฟว์.

ชลวิกา อาจองค์. (2555). รูปแบบการดำเนินชีวิตและการรับรู้ในตราสินค้าที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อสมาร์ทโฟนยี่ห้อไอโฟนของผู้บริโภคในเขตจังหวัดชลบุรี(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

Digital Thailand 2020: สรุป 30 สถิติดิจิทัลของคนไทย ประจําปี2020 ฉบับรวมครบจบในที่เดียว. (2563).สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2563, จาก https://adaddictth.com/knowledge/digital-thailand-2020

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2555). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS (พิมพ์ครั้งที่ 13).กรุงเทพฯ: บิสซิเนส อาร์แอนด์ดี.

นงลักษณ์วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรล: สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2550). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมกรุงเทพ.

ผลสำรวจคนไทยใช้เน็ต Youtube โซเชียลฮิตอันดับ 1. (2560, 27 กันยายน). ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. สืบค้น จาก https://www.prachachat.net/ict/news-46237

ภัฏจาวรรณ ไชยณรา ณัฐมน ประจันตะเสน และ นภนนท์ หอมสุด. (2563). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่มีอิทธิพลต่อการตั้งใจซื้อเลือกใช้บริการยูทูบพรีเมียมของนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ม.อ.ตรัง

วิจัยประจำปี 2563 ครั้งที่ 9: สาขาวิชาการตลาด (น.503-511). ตรัง: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตตรัง. มนัญญาธนะสังข์. (2562). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจใช้บริการยูทูบพรีเมียมของผู้ใช้บริการในเขตกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิตไม่ได้ตีพิมพ์). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ศุภร เสรีรัตน์ปณิศา มีจินดา อรทัย เลิศวรรณวิทย์ปริญ ลักษิตานนท์องอาจ ปทะวานิช และ จิระวัฒน์ อนุชชานนท์. (2552). การบริหารตลาดยุคใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 5, ปรับปรุงใหม่).กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2563). รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยปี 2562.สืบค้นจากhttps://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/publications/Valueof-e-Commerce-Survey-in-Thailand-2019.aspx

สำรวจพฤติกรรม คนไทยใช้YouTube อย่างไรบ้าง. (2562).สืบค้นเมื่อ 24 กันยายน 2563, จาก https://www.thinkwithgoogle.com/intl/th-th/marketing-strategies/video/rediscover-thai-youtubebehvaior-2019/

สิทธิพันธ์ ทนันไชย และ ดวงกมล ชาติประเสริฐ. (2555). รูปแบบการดำเนินชีวิตที่ส่งผลต่อทัศนคติและกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าเสมือน. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 5(1), 121-142.

Amri, S., & Prihandono, D. (2019). Influence lifestyle, consumer ethnocentrism, product quality on purchase decision through purchase intention. Management Analysis Journal, 8(1), 25-38.

Assael, H. (1995). Consumer behavior and marketing action. Cincinnati, OH: South-Western College.

Avivah, R., Slamet, H., & Any, S. (2017). Factors affecting online purchasing of local food. Agro Ekonom, 28(2), 189-204.

Das, G. (2014). Linkages of retailer personality, perceived quality and purchase intention with retailer loyalty: A study of Indian non-food retailing. Journal of Retailing and Consumer Services, 21(3), 407-414.

Haro, A., Oktaviana, D., Trimulia Dewi, A., Anisa, W., & Suangkupon, A. (2020). The influence of brand image and service quality towards purchase intention and its impact on the purchase decision of Samsung smartphone. KnE Social Sciences, 4(6), 329-336. doi.org/10.18502/kss.v4i6.6609

Kotler, P. (1997). Marketing management: Analysis, planning, implementation, and control (9th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Oppenheim, I. (1979). Management of the modern home (2nd ed.). New York, NY: Macmillan. Zeithaml, V. A., Parasuraman, A., & Berry, L. L. (1990). Delivering quality service: Balancing customer perceptions and expectations. New York, NY: The Free Press.